fbpx

Lifestyle

19 Apr 2017

หลุมหลบภัยของซูเปอร์อีลีต

ใครๆ ก็ไม่แน่ใจในอนาคตกันทั้งนั้น อาจจะเกิดสงครามโลกครั้งที่สามตูมตามขึ้นมาเมื่อไหร่ก็ไม่รู้ หรือไม่ น้ำแข็งขั้วโลกก็อาจละลายทำให้น้ำท่วมโลกฉับพลัน หรือเกิดโรคระบาดจาก Superbug ตู้มเดียวตายเป็นล้านๆ คนก็ได้
คนอย่างเราๆ ท่านๆ นี่ ถ้าเกิดหายนะอะไรพวกนี้ขึ้นมา คงได้แต่สวดมนต์ภาวนารอความตาย แต่ถ้าเป็นคนในระดับ Top 1% หรือเป็นสุดยอดซูเปอร์อีลีตของโลกล่ะ พวกเขาเตรียมตัวรับมือเรื่องเล่านี้ไว้อย่างไรกันบ้างหรือเปล่า
ไปติดตามกัน!

กองบรรณาธิการ

19 Apr 2017

Lifestyle

10 Apr 2017

Agony Uncle

Uncle Agony คือคอลัมน์ใหม่ของ ภาณุ บุรุษรัตนพันธ์ อดีตบรรณาธิการนิตยสาร Esquire ผู้คร่ำหวอดในวงการนิตยสารมายาวนาน เขาจะมาตอบคำถามสารพันว่าด้วยไลฟ์สไตล์ แมนเนอร์ และการใช้ชีวิต คำว่า Agony Uncle จะมาตอบปัญหาในโลกยุคใหม่ที่เราทึกทักเอาเองว่าไร้กฎเกณฑ์ แต่ว่าถ้ามันไร้กฎเกณฑ์ขนาดนั้น เราจะอยู่ร่วมกันในฐานะเพื่อนมนุษย์ได้ยังไงกัน
ประเดิมด้วยอันตรายของการใส่เสื้อโปโลเที่ยวต่างจังหวัด, Runner’s Troll และการทิปเด็กสำหรับลูกค้าสายมนุษยนิยม

ภาณุ บุรุษรัตนพันธุ์

10 Apr 2017

Lifestyle

5 Apr 2017

ถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องปรับอากาศ : ประวัติศาสตร์ ‘การสร้างความเย็น’ แบบกระชับ

ลองคิดเล่นๆ ว่าถ้าโลกนี้ไม่มีเครื่องปรับอากาศ ชีวิตของคนเมืองร้อนอย่างเราๆ ก็คงอยู่ยากขึ้นอีกเยอะ แต่กว่าที่มนุษย์จะคิดค้นเครื่องทำความเย็นขึ้นมาได้ ก็ผ่านการลองผิดลองถูกมานับไม่ถ้วน ไปดูกันดีกว่าว่ามนุษย์เรามีวิวัฒนาการในการ ‘สร้างความเย็น’ อย่างไร — อ่านแล้วจะได้เย็นใจ!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

5 Apr 2017

Lifestyle

5 Apr 2017

ต่อกรความร้อน-ด้วยแป้งตรางู

หน้าร้อนปีนี้ หลายคนอาจคิดหาวิธีดับร้อนแบบคูลๆ อยู่ แต่คุณรู้ไหมว่าหนึ่งในวิธีดับร้อน ‘แบบไทยๆ’ ที่เราทำกันมายาวนานคืออะไร ไม่ใช่อาบน้ำ ไม่ใช่เล่นน้ำสงกรานต์ แต่คือการ ‘ประแป้ง’ แล้วไม่ใช่แป้งน้ำแป้งดินสอพอง แต่คือ ‘แป้งตรางู’
แต่คุณรู้ไหม ว่าแป้งตรางูมีที่มาอย่างไร ทำไมถึงต้องเรียกว่า ‘แป้งอังกฤษตรางู’ แป้งนี้มีกำเนิดจากชาวต่างชาติหรือคนไทยกันแน่ และนอกจากนี้ แป้งตรางูมันไปเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ได้อย่างไร
ทั้งหมดนี้ คุณจะได้คำตอบจากการอ่านเรื่องราวต่อไปนี้

วชิรวิทย์ คงคาลัย

5 Apr 2017

Lifestyle

4 Apr 2017

จุ๋ย จุ๋ยส์ : บ้านคือจุดเริ่มต้นของชีวิต ไม่มีบ้าน ไม่มีเรา

101 ชวนหนุ่มโคราชอย่าง จุ๋ย จุ๋ยส์-สุทธิพงศ์ สุทินรัมย์ นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลง ลงพื้นที่อีสาน บอกเล่าความจริงที่ได้พบเห็นด้วยเสียงเพลงและจังหวะดนตรี ในสารคดี ‘ณ’ – บ้านของเขา เรื่องของเราทุกคน จุ๋ย จุ๋ยส์ คิดสร้างสรรค์ผลงานจากโจทย์สุดหินนี้อย่างไร มาฟังเสียงสัมภาษณ์เขาก่อนฟัง ‘เสียงแคนจากแผ่นดินอื่น’ และ ‘ทำนองน้ำ’

ญาดา เตชะวิวัฒนากาล

4 Apr 2017

Lifestyle

4 Apr 2017

เรื่องเล่าของข้าวแช่

ฤดูร้อนอย่างนี้ อาหารที่หลายคนถวิลหามากที่สุดไม่ใช่อะไรอื่น แต่คือ ‘ข้าวแช่’ อาหารที่แสนจะชื่นใจนั่นเอง
ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์ ฟู้ดสไตลิสต์คนดังและเป็นผู้เชี่ยวชาญเรื่องอาหารกับวัฒนธรรม สืบค้นเรื่องเล่าของข้าวแช่มานำเสนอ
ใครเป็นแฟนข้าวแช่-อย่าพลาด!

ดวงฤทธิ์ แคล้วปลอดทุกข์

4 Apr 2017

Lifestyle

4 Apr 2017

อากาศยิ่งร้อน อารมณ์ยิ่งร้าย : Why หัวร้อน?

อากาศร้อนๆแบบนี้ คุณเคยรู้สึก ‘หัวร้อน’ บ้างไหม ใครทำอะไรก็ขวางหูขวางตาไปหมด หรือว่าอากาศกับจิตใจมันจะสัมพันธ์กัน ทำให้ยิ่งร้อนยิ่งอารมณ์รุนแรง โวะ พูดแล้วก็อารมณ์เสียขึ้นมาทันที!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

4 Apr 2017

Lifestyle

4 Apr 2017

ชาติฉกาจ ไวกวี : ภาพขาวดำ ฟิล์มสุดห่วย และชีวิตหนึ่งแชะ

‘ชาติฉกาจ ไวกวี’ ช่างภาพ ผู้กำกับโฆษณา ผู้กำกับมิวสิควิดีโอ สุดคูลแห่งยุคสมัย ตอบรับคำชวนของ 101 ทันที เมื่อเราเชิญให้มาร่วมสร้างสรรค์สารคดี ‘ณ’ – บ้านของเขา เรื่องของเราทุกคน ชาติฉกาจบอกเราว่า ผลงานของเขาจะเป็นภาพขาวดำ จากฟิล์มที่ห่วยที่สุด และเก็บภาพนิ่งของคนหนึ่งคนด้วยการกดชัตเตอร์หนึ่งครั้งเท่านั้น เขาคิดอะไรในใจ? บทสัมภาษณ์นี้มีคำตอบ

วชิรวิทย์ คงคาลัย

4 Apr 2017

Lifestyle

4 Apr 2017

เชฟบุ๊ค-บุญสมิทธิ์ พุกกะณะสุต : เพราะอาหารไม่มีพรมแดน

เมื่อ เชฟบุ๊ค-บุญสมิทธิ์ พุกกะณะสุต พ่อครัวคนเมือง ผู้เชื่อว่าอาหารไม่มีพรมแดน ลงพื้นที่แม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ เขาเรียนรู้อะไรจากโต๊ะอาหารของชาวบ้าน มาฟังเชฟบุ๊คเล่าประสบการณ์สร้างสรรค์สารคดี ‘ณ’ – บ้านของเขา เรื่องของเราทุกคน

ญาดา เตชะวิวัฒนากาล

4 Apr 2017

Lifestyle

3 Apr 2017

นิ้วกลม : ชวนฟัง ‘เสียง’ ที่คนเมืองไม่ค่อยได้ยิน

‘นิ้วกลม’ – สราวุธ เฮ้งสวัสดิ์ หนึ่งในทีมโปรดิวเซอร์ของ 101 เล่าประสบการณ์สร้างสรรค์สารคดี ‘ณ’ – บ้านของเขา เรื่องของเราทุกคน สารคดีที่ตั้งใจใช้งานศิลปะมาบอกเล่าปัญหาของเพื่อนร่วมสังคมที่ ‘เสียง’ ของเขาแทบไม่เคยถูกได้ยิน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

3 Apr 2017

Lifestyle

30 Mar 2017

ยังไม่แก่สักหน่อย ทำไมชอบเล่าอะไรซ้ำซาก

คุณเบื่อคนที่ชอบเล่าเรื่องซ้ำๆ ไหม ยังไม่แก่สักหน่อย ทำไมเจอหน้ากันทีไร เล่าเรื่องเดียวกันให้เราฟังอยู่ได้เหมือนกับไม่เคยเล่ามาก่อน อุตส่าห์รักษาน้ำใจ พยายามบอกเป็นนัยๆ ว่าเรื่องนี้เล่าไปแล้วก็ยังไม่รู้ตัว ยังพูดอยู่ได้ไม่หยุด สมองไม่มีความทรงจำหรือไร หรือว่าเป็นอัลไซม์เมอร์ได้ตั้งแต่ยังหนุ่มยังสาว ถ้าประสบปัญหานี้กับคนรอบตัว ไปหาคำตอบกันว่าทำไม!

กองบรรณาธิการ

30 Mar 2017

Lifestyle

29 Mar 2017

รับขนมปังกลูเตนฟรีไหมคะ

เวลาไปตามร้านอาหารหรูๆ คุณอาจเคยได้ยินบริกรถามว่า จะรับขนมปังแบบ‘กลูเตนฟรี’ บ้างไหม
ขนมปังแบบกลูเตนฟรีนั้น มักจะมีราคาแพงกว่าขนมปังปกติ บางคนเลยอาจรู้สึกว่ามันต้องของที่ ‘ดีต่อสุขภาพ’ แน่ๆ แต่คำถามก็คือ เรารู้ไหมว่า ขนมปังกลูเตนฟรีคืออะไร มันเกิดขึ้นด้วยเหตุผลอะไร และเอาเข้าจริงแล้ว มันเป็นประโยชน์หรือเป็นโทษกับร่างกายเรากันแน่
ไปทำความรู้จักกับ ‘กลูเตนฟรี’ กัน

กองบรรณาธิการ

29 Mar 2017

Lifestyle

23 Mar 2017

เมื่อ VOGUE บุกอาหรับ

เรื่องที่ไม่คุยไม่ได้ คือการเปิดตัวของนิตยสาร VOGUE นิตยสารในเครือกองเด นาสต์ (Conde Nast International) ในคาบสมุทรอาหรับ อันเป็นดินแดนที่นับถือศาสนามุสลิมที่เคร่งครัด บรรณาธิการของโว้ก อาระเบีย คือเจ้าหญิง Deena Aljuhani Abdulaziz แห่งซาอุดิอาระเบีย ไปดูกันว่า โว้ก อาระเบีย จะเป็นอย่างไร

เศรษฐพงศ์ เผ่าวัฒนา

23 Mar 2017

Lifestyle

23 Mar 2017

ความสำคัญของเดดไลน์

การทำงานเกินเดดไลน์หรือส่งงานเลยเดดไลน์ เป็นการท้าทายอำนาจของผู้ที่อยู่เหนือกว่าไปในตัว ส่วนหนึ่งเพราะเกิดการก่อกวน ‘ระเบียบ’ การทำงานของผู้มีอำนาจ ทำให้ผู้ที่มีอำนาจเหนือกว่าเกิดสภาวะที่ไม่สามารถคาดการณ์อะไรได้เลย แต่ถ้าเป็นการ ‘ทำงานเกินเดดไลน์’ ของ ‘ผู้มีอำนาจ’ เองล่ะ เช่นสัญญาว่า ‘ขอเวลาอีกไม่นาน’ แล้วตอนนี้เลยเวลาที่ ‘ไม่นาน’ มานานแล้ว มันบอกอะไรกับเราบ้างหรือเปล่า

วชิรวิทย์ คงคาลัย

23 Mar 2017
1 27 28 29

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

Phenomenon

25 Apr 2024

เดินเร็ว – แก่ช้า : เมื่อการเดินทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจ ‘วัฒนธรรมการเดิน’ อันเปรียบเสมือนของขวัญที่ทำให้มนุษย์แตกต่างจากสัตว์

โตมร ศุขปรีชา

25 Apr 2024

Phenomenon

5 Apr 2024

ค่าจ้างขั้นต่ำกับคุณภาพความเป็นคน

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนคิดเรื่องการปรับขึ้น ‘ค่าจ้างขั้นต่ำ’ ที่ไม่ใช่แค่ประเด็นระดับจุลภาค แต่เกี่ยวโยงอย่างไรถึงโครงสร้างสังคมวัฒนธรรมไทย และเพราะอะไรการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำจะทั้งช่วยสร้างกลไกการแข่งขันที่เป็นธรรมและส่งเสริม ‘เสรีนิยม’ ทางเศรษฐกิจอย่างที่ควรจะเป็น

โตมร ศุขปรีชา

5 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save