fbpx

World

12 Dec 2022

กิจการต่างประเทศของไทยกับเวลาที่หายไปหลังรัฐประหาร 2014

สุภลักษณ์เขียนถึงกิจการต่างประเทศของไทยในยุคของประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ดูเหมือนว่าจะถอยหลังลงเพราะความไม่เข้าใจโลกและรัฐบาลมีที่มาจากรัฐประหาร

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

12 Dec 2022

Asean

11 Dec 2022

ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ฉบับผู้แพ้ (2): ความพยายามแบ่งแยกดินแดนปีนังจากมาลายา, 1948-1951

ณภัค เสรีรักษ์ เล่าเรื่องราวของกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อแยกปีนังออกจากสหภาพมาลายา (มาเลเซียในปัจจุบัน) ในช่วงปี 1948-1951

ณภัค เสรีรักษ์

11 Dec 2022

Global Affairs

8 Dec 2022

คิสซินเจอร์กับ Post-Negotiation

ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนถึงวิธีคิดเกี่ยวกับเจรจาต่อรองของเฮนรี คิสซินเจอร์ นักการทูตชื่อดังที่มีบทบาทสำคัญในการเจรจาระหว่างสหรัฐฯ กับจีนในยุคสงครามเย็น

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

8 Dec 2022

Asean

8 Dec 2022

‘การเมืองในยุคอันวาร์ อิบราฮิม’ คุยกับปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เมื่อมาเลเซียอยู่บนความไม่แน่นอน

101 คุยกับปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง ในวันที่การเมืองมาเลเซียไม่แน่นอน จากการเลือกตั้งครั้งล่าสุด และการก้าวขึ้นมาเป็นผู้นำของอันวาร์ อิบราฮิม

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

8 Dec 2022

World

6 Dec 2022

‘ยูเครน’ ผ่านม้วนฟิล์มของ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีจากยูเครนตะวันออก

แม้ Train «Kyiv–War» จะกล่าวถึงสงครามดอนบาสและสังคมยูเครนก่อนวันที่ 24 กุมภา 2022 แต่เรื่องราวในสารคดีก็ยังคงทำปฏิกิริยาและอธิบายสงครามที่กำลังดำเนินอยู่ 101 พูดคุยกับ Kornii Hrytsiuk ผู้กำกับสารคดีชาวยูเครน ว่าด้วยความคิดและความทรงจำของสังคมยูเครนที่ปรากฏในสารคดี

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

6 Dec 2022

Latin America

6 Dec 2022

อุปสรรคต่อระบอบประชาธิปไตยของลาตินอเมริกาในปัจจุบัน

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงปัญหาอาชญากรรมและการทุจริตในลาตินอเมริกา ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อพัฒนาการประชาธิปไตยของภูมิภาค

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Dec 2022

World

5 Dec 2022

Food Banks ที่พึ่งคนยากไร้ในยามฝืดเคือง ฟันเฟืองที่ขับเคลื่อนด้วยพลังเหล่าเอ็นจีโอ

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงสถานการณ์ปากท้องชาวอังกฤษ ท่ามกลางวิกฤตเศรษฐกิจ ทำให้ความต้องการ ธนาคารอาหาร โดยเอ็นจีโอมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ

สมชัย สุวรรณบรรณ

5 Dec 2022

US

1 Dec 2022

อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Dec 2022

World

29 Nov 2022

ดวงจันทร์ ดาวอังคาร และขีปนาวุธ: การปรับเปลี่ยนนโยบายอวกาศของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การปรับเปลี่ยนนโยบายและการกระโดดเข้าสู่มสมรภูมิการแข่งขันทางอวกาศของอินเดีย ในบริบททางภูมิรัฐศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Nov 2022

World

28 Nov 2022

‘Truman babies’ อีกด้านของการบันทึกชีวิตลูกให้คนทั้งโลกดู

คอลัมน์ Popcapture ว่าด้วยชีวิตของเด็กๆ ที่เติบโตในครอบครัวที่ถ่ายวิดีโอพวกเขาแล้วโพสต์ลงโซเชียลมีเดียตั้งแต่ยังเล็ก -หรือเรียกกันว่า Truman babies- นำมาสู่คำถามเรื่องการละเมิดความเป็นส่วนตัวและความปลอดภัยของเด็กๆ เอง ในโลกที่คนแปลกหน้าต่างพากันรู้รายละเอียดและความเคลื่อนไหวของพวกเขา

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Nov 2022

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

Interviews

24 Nov 2022

ยาสมิน ซัตตาร์ และปลายทางของการชุมนุม ‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ ในอิหร่านที่อาจไม่ง่ายนัก

ภายหลังการเสียชีวิตของ มาห์ซา อามินี หญิงสาวที่ถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและทำร้ายจนเสียชีวิตเนื่องจากไม่สวมฮิญาบให้ตรงตามข้อกำหนด ประชาชนก็ลุกฮือขึ้นประท้วงในอิหร่านเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม และกลายเป็นการชุมนุมครั้งใหญ่ จนล่าสุดสมาชิกรัฐสภาลงนามเรียกร้องให้มีการออกโทษประหารชีวิตแก่ผู้ชุมนุม

101 สนทนากับ ผศ. ดร.ยาสมิน ซัตตาร์ ว่าด้วยการประท้วงในอิหร่าน ทิศทางการต่อสู้ในอิหร่าน และความหวังของเหล่าผู้ประท้วงในตะวันออกกลาง

พิมพ์ชนก พุกสุข

24 Nov 2022

World

24 Nov 2022

งานวิจัยจีนมีคุณภาพจริงหรือ? : มองสังคมการเมืองจีนผ่านโลกงานวิชาการ

101 ชวนอ่านงานวิจัยของ Daron Acemoglu, Jie Zhou และ David Yang เข้าไปศึกษาระบบโครงสร้างอำนาจแบบจีน มันส่งผลอย่างไรกับทิศทางและคุณภาพงานวิจัย

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

24 Nov 2022

World

23 Nov 2022

เกิดน้อย เลือกงาน คนอยากกลับบ้าน และโควิดเอ็ฟเฟ็กต์: มองปัญหาการขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น 

สุภา ปัทมานันท์ เขียนถึงภาวะขาดแคลนแรงงานในญี่ปุ่น ที่มีสาเหตุหลายอย่าง นอกเหนือไปจากโควิด-19

สุภา ปัทมานันท์

23 Nov 2022

World

22 Nov 2022

ASEAN Summit – G20 – APEC โลกได้อะไร? ไทยได้อะไร? กับ ปิติ ศรีแสงนาม

101 ชวน ปิติ ศรีแสงนาม สรุปและมองทิศทางภูมิรัฐศาสตร์โลกผ่านสามการประชุมใหญ่ จะนำพาโลกมีแนวโน้มไปในทิศทางไหน และไทยอยู่ตรงไหนในภูมิรัฐศาสตร์โลก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Nov 2022
1 19 20 21 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

Asean

30 Apr 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

30 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save