fbpx

Social Problems

6 Nov 2023

ความรุนแรงที่ฝังลึก สิทธิเด็กที่ขาดหาย กฎหมายที่บกพร่อง : ถอดรหัสสังคมไทยในคมกระสุน

สรุปวงเสวนา ประเทศไทยในคมกระสุน: ชะตากรรมเด็กและสังคมไทยภายใต้โครงสร้างแห่งความรุนแรง’ เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2566

จินต์จุฑา พันธุ์ทองคำ

6 Nov 2023

Politics

21 Sep 2023

“สถานการณ์จะคัดกรองจุดยืน” ธิดา ถาวรเศรษฐ กับความหวังทวงความยุติธรรมอันริบหรี่ในรัฐบาลจารีตนิยม

101 สนทนากับ ธิดา ถาวรเศรษฐ ถึงโจทย์สำคัญสำหรับคนเสื้อแดงในวันนี้คือการเดินหน้าทวงความยุติธรรมคดีปี 2553 ในยุครัฐบาลพรรคเพื่อไทย

วจนา วรรลยางกูร

21 Sep 2023

Politics

2 Jun 2021

รัฐโศกนาฏกรรม จากความหวาดกลัว สู่ความสิ้นหวัง

มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึง การแปรเปลี่ยนของ ‘รัฐนาฏกรรม’ ไปสู่ ‘รัฐโศกนาฏกรรม’ เมื่อรัฐที่ใช้พิธีกรรมสถาปนาอำนาจอันศักดิ์สิทธิ์เสื่อมอำนาจลง และจำเป็นต้องปกครองด้วยความกลัว จนทำให้ผู้คนสิ้นหวังและอยากหนีออกไป

มัธธาณะ รอดยิ้ม

2 Jun 2021

Thai Politics

23 Feb 2021

‘ช้าง’ ในมหาวิทยาลัย

หลัง #ตั๋วช้าง ได้รับความสนใจจากสังคม สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนมองช้างอีกตัวในห้องที่คนแสร้งมองไม่เห็น นั่นคือ ‘ช้าง’ ในมหาวิทยาลัย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

23 Feb 2021

Talk Programmes

16 Oct 2020

101 One-On-One Ep.187 : อ่านวัฒนธรรมการลงโทษในโลกการศึกษา กับ กานน คุมพ์ประพันธ์ และอุฬาชา เหล่าชัย

101 สนทนากับอาจารย์กานน คุมพ์ประพันธ์ และอาจารย์อุฬาชา เหล่าชัย ร่วมกันถอดรื้อปัญหาวัฒนธรรมอำนาจนิยม ระบบการผลิตครู ความเชื่อและมุมมองเกี่ยวกับการลงโทษด้วยความรุนแรงในระบบการศึกษาไทย

101 One-on-One

16 Oct 2020

Education

1 Oct 2020

กรณีเด็กถูกทำร้าย-เรื่องที่คุณพ่อคุณแม่ควรทำก่อน

นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงสิ่งที่พ่อแม่ควรทำเมื่อลูกถูกทำร้ายร่างกายหรือล่วงละเมิด สิ่งสำคัญคือการพาลูกเข้าพบจิตแพทย์เด็กโดยเร็ว อย่ามัวรอหน่วยงานราชการให้เป็นข่าวเอิกเกริก

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

1 Oct 2020

Spotlights

28 Apr 2020

เส้นทางขบวนการประท้วงในโลกหลังโควิด-19

จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองทิศทางของขบวนการประท้วงในโลกหลังโรคระบาดคลี่คลาย ท่ามกลางภาวะประชาธิปไตยที่ถดถอย แต่ภาพรวมการประท้วงทั่วโลกกลับเพิ่มขึ้น

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

28 Apr 2020

Thai Politics

15 Apr 2020

สันติภาพชายแดนใต้ในสถานการณ์ COVID-19 : รอมฎอน ปันจอร์

วิเคราะห์เงื่อนไขอันเปราะบางของกระบวนการสันติภาพในสถานการณ์ COVID-19 ผ่านมุมมอง รอมฎอน ปันจอร์ จากศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้

ธิติ มีแต้ม

15 Apr 2020

Spotlights

13 Sep 2019

Hong Kong Sunday : บางเรื่องเล่าจากฮ่องกง

101 เก็บบรรยากาศฮ่องกงอีกบางมุมที่ไม่ได้มีแค่แก๊สน้ำตา — เมื่อชีวิตยังดำเนินไป ในวิถีแบบ ‘Hong Kong Sunday’ ที่ชุ่มฉ่ำและเฉื่อยชา

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

13 Sep 2019

World

7 May 2019

การเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยในลาตินอเมริกา ระหว่างที่ผลการเลือกตั้งไทยยังไม่ชัดเจน เพื่อบอกตัวเองว่า “อย่าได้หมดหวังกับระบอบประชาธิปไตย”

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

7 May 2019

Videos

30 Aug 2018

Threesome : อ่านจนแตก Ep40 ”รับน้อง สนองใคร?”

รายการ #Threesomeอ่านจนแตก สัปดาห์นี้ ต้อนรับปีการศึกษาใหม่ด้วยเรื่อง ‘#การรับน้อง’ ชวนถกแง่มุมต่างๆ ของการรับน้องใหม่ในมหาวิทยาลัย ตั้งแต่วิธีคิดที่ซ่อนอยู่เบื้องหลัง การปลูกฝังวิธีคิดแบบ #อำนาจนิยม ความสมเหตุสมผลของกิจกรรมต่างๆ

ติดตามชมได้ใน รายการ #Threesomeอ่านจนแตก Ep.40 วันเสาร์ที่ 1 กันยายนนี้ เวลาสองทุ่มตรง ทาง The101.world

กองบรรณาธิการ

30 Aug 2018

Social Problems

19 Jul 2017

ตายในคุก: รัฐ-ประหาร ใบสั่งตายของอำนาจนิยม?

เมื่อไม่นานมานี้ เพิ่งมีข่าวการเสียชีวิตในคุกของ ‘หลิวเสี่ยวโป’ ผู้ชนะรางวัลโนเบล ไปดูกันว่า การตายในคุกนั้นเกิดขึ้นอย่างไร ใครบ้างที่มักเป็นเหยื่อ และเรื่องนี้จะสัมพันธ์กับความเป็นอำนาจนิยมของรัฐหรือไม่อย่างไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

19 Jul 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save