fbpx

Law

4 Apr 2024

“การจำกัดเสรีภาพการชุมนุม เหมือนสร้างเขื่อนกั้นน้ำ” มองกฎหมายชุมนุมสาธารณะ เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ เป็นปัญหา กับ พัชร์ นิยมศิลป

101 คุยกับ ดร.พัชร์ นิยมศิลป ถึงความสำคัญของเสรีภาพการชุมนุม และปัญหาการจำกัดเสรีภาพการชุมนุมภายใต้กฎหมายไทย เมื่อสิทธิมนุษยชนแบบไทยๆ อาจเป็นปัญหา

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

4 Apr 2024

Politics

25 Apr 2023

ไม่ใช่แค่ความหวัง แต่ต้องมีความกล้า: มองเลือกตั้งไทยกับแอกเนส คาลามาร์ด เลขาธิการแอมเนสตี้ฯ

มุมมองของแอกเนส คาลามาร์ด เลขาธิการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ในประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนของไทยและข้อแนะนำต่อผู้นำจากการเลือกตั้งที่จะเข้ามาแก้ปัญหาหลังจากนี้

วจนา วรรลยางกูร

25 Apr 2023

Politics

2 Dec 2022

“อาหารข้าวปลาคือเนื้อหาของประชาธิปไตย” บารมี ชัยรัตน์ วันที่ม็อบคนจนถูกตอบกลับด้วยเสียงปืน

101 พูดคุยกับบารมี ชัยรัตน์ ที่ปรึกษาสมัชชาคนจน ถึงความรุนแรงที่รัฐใช้ต่อการชุมนุมของประชาชน และโจทย์ใหญ่เรื่องการเมืองภาคประชาชนในการเลือกตั้งครั้งหน้า

ชลิดา หนูหล้า

2 Dec 2022

Politics

6 Jan 2022

เมื่อ The Empire Strikes Back (Again?) มองประเทศดิสโทเปียปี 2565 กับ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์

101 ชวนสนทนาประเด็นการเมือง การเปลี่ยนแปลงและความร้อนแรงต่างๆ ในปี 2564 ที่ผ่านมากับ ผศ.ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ผู้เทียบเคียงการเมืองไทยในรอบปี 2564 ว่าไม่ต่างจากแฟรนไชส์ Star Wars ภาค The Empire Strikes Back

พิมพ์ชนก พุกสุข

6 Jan 2022

Politics

28 Dec 2021

มองการเมือง 2021 : ถึงเวลาพูดเรื่อง ‘ช้างในห้อง’

101 ชวนมองภาพการเมืองในปีที่ผ่านมา เมื่อการชุมนุมจากปีก่อนหน้าส่งผลให้สังคมจำเป็นต้องพูดคุยกันถึงปัญหาใหญ่ที่ผู้มีอำนาจหลีกเลี่ยงเสมอมา อย่างประเด็นปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ปฏิรูปกองทัพ จนถึงการให้นิยามสันติวิธีและความรุนแรง

วจนา วรรลยางกูร

28 Dec 2021

Media

1 Apr 2021

101 One-on-One EP.221 ‘จากคนเสื้อแดง ถึงคนรุ่นใหม่’ กับ ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ

101 ชวน ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ อดีตแกนนำคนเสื้อแดง มาอ่านการเมืองไทย ทั้งขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในปัจจุบัน หนึ่งความฝันของราษฎร กระบวนการยุติธรรมที่จองจำนักต่อสู้ทางการเมือง และบทเรียนที่เขาจะส่งต่อถึงมือคนรุ่นใหม่

101 One-on-One

1 Apr 2021

Media

25 Mar 2021

101 In Focus Ep.73 : ความรุนแรงและก้าวต่อไปการชุมนุม

101 In Focus ชวนย้อนอ่านเรื่องสันติวิธีกับการประท้วง การสร้างสันติภาพในสังคม ก้าวต่อไปของม็อบที่ต้องสร้างแนวร่วม และทางออกจากความขัดแย้งในสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

25 Mar 2021

Spotlights

13 Dec 2020

9 ข้อเสนอสำหรับการเข้าใจการเคลื่อนไหว การจัดการ และ ‘การ์ด’ การชุมนุม

อุเชนทร์ เชียงเสน ชวนทำความเข้าใจและเสนอแนวทางเกี่ยวกับการจัดการการ์ดการชุมนุม ผ่านข้อเสนอ 9 ลำดับขั้นตอน

อุเชนทร์ เชียงเสน

13 Dec 2020

Spotlights

3 Dec 2020

การประเมินความสำเร็จและความล้มเหลวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม

อุเชนทร์ เชียงเสน เขียนถึงแนวทางการประเมินความสำเร็จ/ล้มเหลวของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม

อุเชนทร์ เชียงเสน

3 Dec 2020

Spotlights

28 Oct 2020

เมื่อถนนสร้าง ‘ประชาชน’

คอลัมน์ Shaped by Architecture เดือนนี้ รชพร ชูช่วย เขียนถึงพื้นที่ท้องถนน ที่สะท้อนการมีส่วนร่วมของผู้คนในสังคมประชาธิปไตย ถนนสำคัญต่อการเรียกร้องทางการเมืองอย่างไร และเพิ่มพลังให้คนได้อย่างไร

รชพร ชูช่วย

28 Oct 2020

Thai Politics

28 Oct 2020

ทำไมลูกชิ้นทอดจึงเป็นอาหารขวัญใจม็อบเด็ก

ทำไมมีม็อบแล้วต้องมีรถขายลูกชิ้นทอด? วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ลองสำรวจเหตุผลที่ทำให้ลูกชิ้นทอดกลายเป็นอาหารประจำม็อบ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

28 Oct 2020

Democracy

27 Oct 2020

“ให้เธอเรียกฉันว่าสายลมที่หวังดี” คุยชีวิตและการเมืองกับ ทราย เจริญปุระ

101 ชวนทราย เจริญปุระ มาคุยว่าด้วยชีวิต ความคิด และการเมือง เธอคิดอะไร เธอเจออะไร และมองเหตุการณ์ทางการเมืองตอนนี้อย่างไร

กองบรรณาธิการ

27 Oct 2020

Thai Politics

27 Oct 2020

‘เกษียร เตชะพีระ’ มองการเมืองไทยยุคหลังฉันทมติภูมิพล

101 คุยกับ เกษียร เตชะพีระ เพื่อทำความเข้าใจภูมิทัศน์การเมืองไทยที่เปลี่ยนไปในยุคหลังฉันทมติภูมิพล และความสุ่มเสี่ยงด้านต่างๆ ที่สังคมกำลังเผชิญ

วจนา วรรลยางกูร

27 Oct 2020

World

26 Oct 2020

ทำไมตำรวจอังกฤษจึงเป็นมิตรกับประชาชน

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงวัฒนธรรมและปรัชญาวิชาชีพตำรวจอังกฤษ ที่ทำให้ตำรวจอังกฤษได้รับการยกย่องว่าเป็นแบบอย่างที่ดี เพราะมีวิธีการรักษากฏหมายที่มีประสิทธิภาพ เป็นที่ยอมรับของชุมชนในแต่ละพื้นที่

สมชัย สุวรรณบรรณ

26 Oct 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save