fbpx

World

29 Nov 2022

ดวงจันทร์ ดาวอังคาร และขีปนาวุธ: การปรับเปลี่ยนนโยบายอวกาศของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การปรับเปลี่ยนนโยบายและการกระโดดเข้าสู่มสมรภูมิการแข่งขันทางอวกาศของอินเดีย ในบริบททางภูมิรัฐศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Nov 2022

World

28 Sep 2022

เรื่องวุ่นๆ ทางประวัติศาสตร์ของการเริ่มความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ปริศนาและเรื่องวุ่นๆ ในช่วงเริ่มต้นการสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย-อินเดีย ทั้งที่อินเดียยังไม่ได้รับเอกราชอย่างสมบูรณ์

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Sep 2022

World

29 Aug 2022

75 ปีแห่งอิสรภาพ: ก้าวย่างสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วของอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง เส้นทางและบทเรียนของการพัฒนาอินเดียตลอด 75 ปีที่ผ่านมาหลังการประกาศอิสรภาพ พร้อมมองความเป็นไปได้ของวิสัยทัศน์ที่อินเดียต้องการเดินหน้าไปสู่การเป็นประเทศพัฒนาแล้วในอีก 25 ปีข้างหน้าในวาระที่จะครบรอบ 100 ปีแห่งอิสรภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

29 Aug 2022

World

9 Aug 2022

บทเรียนจากวิกฤตศรีลังกากับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

ถอดบทเรียนวิกฤตศรีลังกาที่กำลังเผชิญปัญหาทางเศรฐกิจและสังคมครั้งใหญ่ไปกับ ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ซึ่งชวนขบคิดว่า อะไรที่ทำให้ประเทศซึ่งครั้งหนึ่งเป็นดาวเด่นแห่งเอเชียใต้ กลายมาเป็นประเทศที่บาดเจ็บอย่างหนักในเวลานี้

กองบรรณาธิการ

9 Aug 2022

World

1 Aug 2022

101 One-on-One Ep. 272 วิกฤตศรีลังกา: บทเรียนจากประเทศ ‘ดาวรุ่ง’ สู่ ‘ดาวร่วง’ กับศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

101 One on One ชวนศุภวิชญ์ แก้วคูนอก คอลัมนิสต์ประจำ The101.world และผู้ที่สนใจศึกษา ‘เอเชียใต้’ ในมิติสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม อ่านวิกฤตศรีลังกาเพื่อถอดบทเรียนสำหรับประเทศกำลังพัฒนาอื่นๆ ในอนาคต

101 One-on-One

1 Aug 2022

World

28 Jun 2022

‘ชาตินิยมที่มากล้น’ กับต้นทุนทางการเมืองและเศรษฐกิจที่อินเดียต้องแบกรับ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึงนโยบายชาตินิยมฮินดูของพรรครัฐบาลอินเดีย ที่ส่งผลให้เกิดความขัดแย้งร้าวลึกระหว่างชาว ‘ฮินดู’ และ ‘มุสลิม’ ซึ่งประเด็นนี้มีรากทางประวัติศาสตร์มายาวนาน

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

28 Jun 2022

World

24 May 2022

คังคุไบ: ภาพสะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์ของอินเดีย

ในวันที่ ‘คังคุไบ’ กำลังเป็นกระแส ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก สะท้อนปัญหาการค้ามนุษย์และการค้าประเวณี ปัญหาที่ฝังรากลึกในอินเดียมานาน จากทั้งปัญหาความยากจน และค่านิยมทางสังคมและศาสนา ผ่านเรื่องราวของคังคุไบ รวมทั้งความพยายามขจัดปัญหาดังกล่าวในปัจจุบันของรัฐบาลอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 May 2022

World

25 Mar 2022

อ่านศึกเลือกตั้งระดับรัฐของอินเดีย ความพ่ายแพ้ยับเยินของพรรคคองเกรส

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก วิเคราะห์ผลการเลือกตั้งระดับรัฐใน 5 รัฐของอินเดีย ที่สะท้อนถึงความแข็งแกร่งของพรรคบีเจพี ความโรยราของพรรคองเกรส และภูมิทัศน์ทางการเมืองอินเดียที่ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงไป

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Mar 2022

World

18 Feb 2022

ฮินดูทวากับกระแสชาตินิยมฮินดูของอินเดีย ในวันที่ความหลากหลายถูกท้าทาย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง การผงาดขึ้นของลัทธิฮินดูทวาและกระแสชาตินิยมฮินดู ที่กำลังค่อยๆ กร่อนทำลายความหลากหลายทางศาสนาและวัฒนธรรมในอินเดีย และอาจนำไปสู่ความขัดแย้งที่ทวีคูณจนเกิดความรุนแรง ภายใต้การนำของรัฐบาลพรรคบีเจพี

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

18 Feb 2022

World

19 Jan 2022

เหลียว 2021 แล 2022: เศรษฐกิจ การเมือง และการต่างประเทศอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก ชวนมองย้อนการเมือง เศรษฐกิจ และการต่างประเทศอินเดียในปี 2021 พร้อมมองความเคลื่อนไหวที่น่าจับตามองและอนาคตของอินเดียในปี 2022

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Jan 2022

World

19 Oct 2021

ยุทธศาสตร์ ‘พลังงานไฮโดรเจนสีเขียว’ ของอินเดีย โอกาสการเปลี่ยนผ่านพลังงานของโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ยุทธศาสตร์พลังงานไฮโดรเจนสีเขียว ยุทธศาสตร์พลังงานใหม่ของอินเดียอันเป็นโอกาสทางเศรษฐกิจและเครื่องชี้ชะตาความเป็นมหาอำนาจโลกในวันที่ความยั่งยืนทางสิ่งแวดล้อมกลายเป็นวาระหลักร่วมของโลก

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

19 Oct 2021

World

24 Sep 2021

เอเชียใต้ที่เปลี่ยนไป ในวันที่อัฟกานิสถานเปลี่ยนแปลง

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ความเปลี่ยนแปลงทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียใต้และความท้าทายที่อินเดียต้องเผชิญในวันที่ตาลีบันครองอำนาจ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

24 Sep 2021

World

16 Aug 2021

การกลับมามีอำนาจของตาลีบันในอัฟกานิสถาน: ความเปลี่ยนแปลงในเครื่องหมายคำถาม?

หลังการประกาศยึดกรุงคาบูลของกลุ่มตาลีบัน ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง ต้นธารความขัดแย้งในอัฟกานิสถานที่นำไปสู่การกลับขึ้นมามีอำนาจอีกครั้งของกลุ่มตาลีบัน พร้อมทั้งมองฉากทัศน์ความเป็นไปได้ของอัฟกานีสถานในอนาคต

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

16 Aug 2021

World

21 Jul 2021

จากในรัฐสู่ระหว่างประเทศ: บทบาทของรัฐบาลระดับรัฐในการกำหนดนโยบายต่างประเทศอินเดีย

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก เขียนถึง บทบาทของ ‘รัฐบาลระดับรัฐ’ ของอินเดียในการกำหนดนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งมีสาเหตุมาจากความเป็นรัฐบาลผสมและการเปิดกว้างทางเศรษฐกิจ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

21 Jul 2021

World

25 Jun 2021

เศรษฐกิจโยคะ เมื่ออินเดียส่งออกวัฒนธรรม

ศุภวิชญ์ แก้งคูนอก เขียนถึง เส้นทางของ ‘เศรษฐกิจโยคะ’ ที่พัฒนาจากแนวทางการบริหารกายและจิต และจนไปสู่ อุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจระดับมหาศาลให้กับอินเดีย รวมทั้งช่วยสร้างภาพลักษณ์อินเดียในฐานะผู้นำด้านการบริการทางสุขภาพ

ศุภวิชญ์ แก้วคูนอก

25 Jun 2021
1 2 3 5

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save