fbpx

Europe

16 May 2022

เพราะชาติคือประชาชน: เส้นทางการสร้างรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก

โกษม โกยทอง เขียนถึง เส้นทางการก่อสร้างร่างรัฐสวัสดิการในเดนมาร์ก ซึ่งมีประชาชนเป็นพลังสำคัญในการต่อสู้และขับเคลื่อนให้รัฐสวัสดิการเกิดขึ้นจริง

โกษม โกยทอง

16 May 2022

Political Economy

13 May 2022

จากข้อเรียกร้องของแรงงาน สู่รัฐสวัสดิการเพื่อทุกคน กับ ‘ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี’

101 สนทนากับ รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการต่อสู้เรื่องสวัสดิการแรงงาน ผลกระทบของระบบทุนนิยมต่อชีวิตผู้คน และเส้นทางสู่ ‘รัฐสวัสดิการ’ ในวันที่ ‘ข้าวของแพง-ค่าแรงถูก’

กรกมล ศรีวัฒน์

13 May 2022

Interviews

2 May 2022

‘ไปให้พ้นจากความยากจน’ บันทึกชีวิตผู้หญิงอีสานในปารีสที่ฝันถึงความเท่าเทียม

เรื่องราวชีวิตแรงงานไทยจากครอบครัวชาวนา ผู้พลัดอีสานมาอยู่ปารีสนาน 20 ปี โดยเริ่มต้นจากการเป็นแรงงานผิดกฎหมาย ทำงานหนัก-เสี่ยง จนได้สัญชาติฝรั่งเศสและก้าวสู่การเป็นเจ้าของกิจการ ทั้งหมดนี้เพื่อการต่อสู้กับความยากจน และแสวงหาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

วจนา วรรลยางกูร

2 May 2022

Media

29 Apr 2022

101 One-on-One Ep.262 จากข้อเรียกร้องแรงงานสู่รัฐสวัสดิการ กับ ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี

101 ชวน รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ขับเคลื่อนเรื่องรัฐสวัสดิการ มาพูดคุยว่าด้วยเรื่อง ‘แรงงาน’ และ ‘รัฐสวัสดิการ’ ในวันที่ ‘ข้าวของแพง-ค่าแรงถูก’

101 One-on-One

29 Apr 2022

World

3 Jun 2021

ทำอย่างไรให้รัฐดูแลเรา? เส้นทางการสร้างรัฐสวัสดิการในสวีเดน

โกษม โกยทอง เขียนถึงเส้นทางกว่าจะเป็นรัฐสวัสดิการของสวีเดน พวกเขาผ่านอะไรมาบ้าง และสังคมทำอย่างไรในการประนีประนอมคนทุกชนชั้นให้เห็นผลประโยชน์ร่วมกัน

โกษม โกยทอง

3 Jun 2021

Media

18 Jul 2020

101 In Focus Ep.48 : จากรัฐสวัสดิการในโลกตะวันตก สู่การสร้างรัฐสวัสดิการของไทย

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนคุณผู้ฟังสำรวจเส้นทางการก่อร่างของรัฐสวัสดิการตะวันตก สู่สร้างรัฐสวัสดิการไทย เงื่อนไขอะไรบ้างที่ไทยต้องเผชิญ และมีความเป็นไปได้แบบไหนบ้างในเส้นทางที่ทอดยาวนี้

กองบรรณาธิการ

18 Jul 2020

Interviews

14 Jul 2020

“รัฐสวัสดิการจะเกิดขึ้นได้ รัฐและภาคประชาชนต้องไว้วางใจซึ่งกันและกัน” ภาคภูมิ แสงกนกกุล

101 ชวน อ. ดร. ภาคภูมิ แสงกนกกุล สนทนาเพื่อทำความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการอย่างรอบด้าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

14 Jul 2020

Happy Family

29 Apr 2020

ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์: เมื่อการมีลูกฉุดรั้งการงาน ถึงเวลาสวัสดิการเพื่อครอบครัว

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ ศศิวิมล วรุณศิริ ปวีณวัฒน์ ถึงปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจมีลูกของแรงงานไทย

วจนา วรรลยางกูร

29 Apr 2020

Political Economy

22 Jan 2020

ถอดบทเรียนรัฐสวัสดิการใน 3 กราฟ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เขียนถึงบทเรียนเรื่องรัฐสวัสดิการ ผ่านการวิเคราะห์สิ่งที่อยู่เบื้องหลังกราฟ 3 ภาพ ได้แก่ ประเด็นความเหลื่อมล้ำ นโยบายทางสังคม และวิธีออกแบบรัฐสวัสดิการที่มีคุณภาพ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

22 Jan 2020

Social Problems

16 Oct 2019

หลักประกันสุขภาพที่รัก (44) : หลักประกันสุขภาพแห่งชาติของอังกฤษ ตอนที่ 1

นายแพทย์ประเสริฐ  ผลิตผลการพิมพ์ เขียนถึงจุดเริ่มต้นหลักประกันสุขภาพแห่งชาติอังกฤษ (NHS) ที่มีเส้นทางและแนวคิดไม่ต่างจากหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของไทย

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

16 Oct 2019

Economy

22 Oct 2018

ก่อร่างสร้างรัฐสวัสดิการ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตรย้อนมองประวัติศาสตร์เพื่อตอบคำถามว่าอะไรคือกลไกเชิงสถาบันที่จำเป็นในการก่อร่างสร้างรัฐสวัสดิการ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

22 Oct 2018

Social Problems

18 Oct 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (20) : สังคมที่พร้อมจะสร้างคนป่วย

ใครว่าชาวบ้านไม่ดูแลตัวเองเพราะได้รักษาฟรี นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ตอบคำถามซ้ำซากนี้ด้วยการชี้ให้เห็นว่า สังคมไทยต่างหากที่เปราะบางจนสร้างผู้ป่วยจากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน และปัญหาทั้งหมดนี้แก้ไม่ได้ด้วยการรวมศูนย์อำนาจ

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

18 Oct 2018

World

18 Apr 2018

ความฝันของชาติ และการสร้างรัฐสวัสดิการของพม่า ยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2

ลลิตา หาญวงษ์ เขียนถึงกระบวนการสร้างชาติพม่า ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ตั้งแต่แง่มุมทางเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ไปจนถึงกับดักที่ทำให้ประเทศไม่อาจพัฒนาได้ตามแผน

ลลิตา หาญวงษ์

18 Apr 2018
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save