fbpx

Thai Politics

20 Feb 2020

จาก ‘ตุลาการภิวัตน์’ ถึง ‘นิติสงคราม’ : สงครามไม่มีวันแล้วเสร็จของปีกขวาไทย

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดเรื่อง ‘ตุลาการภิวัตน์’ และ ‘นิติสงคราม’ ที่ดำรงอยู่ตลอดทศวรรษครึ่งในการเมืองไทย จนทำให้ประชาธิปไตยวิบัติเพราะนิติธรรมวิบัติ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

20 Feb 2020

Podcast

21 Sep 2019

PRESSCAST EP.02 : สื่อต้านรัฐประหาร ที่ชื่อว่า ‘ประชาไท’

ธิติ แต้ม คุยกับ เทวฤทธิ์ มณีฉาย บรรณาธิการบริหาร สำนักข่าวประชาไท ในวาระก่อตั้งมาครบรอบ 15 ปี และยังเผชิญหน้ากับการถูกจำกัดเสรีภาพด้วยรัฐประหารในห้วง 13 ปี

ธิติ มีแต้ม

21 Sep 2019

People

10 May 2019

“อยากบังเอิญเจอใครที่ยังฝันอยู่…” เปล่งเพลงรับ ‘ไผ่ ดาวดิน’

ย้อนดูยุคสมัยที่กลุ่มนักศึกษาเผชิญหน้าอำนาจรัฐประหาร จนต้องเข้าคุกตาราง ก่อนชีวิต ‘ไผ่ ดาวดิน’ จะหายไป 870 วัน และได้รับอิสรภาพในเช้าวันที่ 10 พ.ค. 2562

ธิติ มีแต้ม

10 May 2019

Interviews

29 Mar 2019

5 ปีรัฐประหาร – 5 ปีปราบโกง ในสายตา ‘มานะ นิมิตรมงคล’

มานะ นิมิตรมงคล ประเมินผลงานด้านคอร์รัปชันในยุค คสช. ที่มีแนวโน้มปิดกั้นข้อมูลมากขึ้นและมีประเด็นน่ากังขาหลายเรื่อง

วจนา วรรลยางกูร

29 Mar 2019

Interviews

20 Mar 2019

ค้นใจตุลาการ-ค้นหาความยุติธรรม : สมชาย ปรีชาศิลปกุล

คุยกับ ‘สมชาย ปรีชาศิลปกุล’ ว่าด้วยบทบาททางการเมืองขององค์กรตุลาการและผู้พิพากษาในสังคมไทยในช่วงทศวรรษแห่งความขัดแย้ง

กองบรรณาธิการ

20 Mar 2019

Politics

11 Mar 2019

‘ฝ่ายประชาธิปไตย-ฝ่ายเผด็จการ’ ‘คนรุ่นเก่า-รุ่นใหม่’: ขั้วความขัดแย้งในการเมืองไทยหลังคสช.

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ตั้งข้อสังเกตถึงการสร้าง ‘ความปรองดองแบบคสช.’ ที่ไม่ได้ช่วยสลายความขัดแย้ง แต่ได้เปลี่ยนรูปร่างหน้าตาขั้วความขัดแย้ง ‘เสื้อเหลือง-เสื้อแดง’ ให้แบ่งฝ่ายความขัดแย้งใหม่เป็น ‘คนรุ่นเก่า-คนรุ่นใหม่’ อันมีใจความอยู่ที่โลกทัศน์มากกว่าเรื่องอายุ

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

11 Mar 2019

Politics

27 Feb 2019

ทำไมคนไม่พอใจทหาร

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ตั้งคำถาม ทำไมคนถึงไม่พอใจทหาร โดยเฉพาะบรรดา ‘ทหารการเมือง’ ที่พยายามสืบทอดอำนาจตัวเอง ยิ่งวันเลือกตั้งใกล้เข้ามา ปรากฏการณ์นี้ก็ยิ่งลุกลามเด่นชัดขึ้นเรื่อยๆ

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

27 Feb 2019

Interviews

11 Feb 2019

จตุพร พรหมพันธุ์ กับภารกิจ ‘เพื่อชาติ’ ภายใต้อิสรภาพและสังขารอันจำกัด

คลื่นลมทางการเมืองกำลังก่อตัวกลายเป็นหอกแหลมพร้อมทิ่มแทง ในนามหัวขบวนคลื่นมวลชนคนเสื้อแดงอย่าง นปช. ‘จตุพร พรหมพันธุ์’ กำลังอ่านกระดานการเมืองไทยอย่างไร

ธิติ มีแต้ม

11 Feb 2019

Interviews

4 Feb 2019

“ประเทศนี้ไม่มีความเมตตา” เสียงจากภรรยา ‘สุรชัย’ ปราณี ด่านวัฒนานุสรณ์

เสียงสุดท้ายของปราณี ด่านวัฒนานุสรณ์ ที่ ‘สุรชัย’ สามีไม่มีโอกาสได้ยิน เป็นความทรงจำที่หลั่งไหลและถาโถมเข้ามายามชีวิตหน่วงหนัก หม่นหมอง แต่ไม่อาจลบเลือน

ธิติ มีแต้ม

4 Feb 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 3 : “ยุทธศาสตร์คือเรียกร้องศาลให้ต่อต้านรัฐประหารเชิงรับ”

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สาม วรเจตน์ ภาคีรัตน์ วิพากษ์เนติบริกรและตุลาการภิวัตน์ในฐานะเครื่องมือของระบบรัฐประหาร

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

10 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 2 : “ถึงเวลาหาคำใหม่ ใช้แทน ‘รัฐธรรมนูญ’ ”

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่สอง สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทยและสัญญาประชาคมใหม่

ปกป้อง จันวิทย์

10 Jan 2019

Thai Politics

9 Jan 2019

ห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร คาบที่ 1 : “รัฐประหารเป็นเพียงระบบย่อยภายใต้ระบอบใหญ่ที่ตั้งชื่อไม่ได้”

101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ เปิดห้องเรียนนิติศาสตร์เพื่อราษฎร สนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทย เริ่มคาบแรกด้วยมุมมองใหม่ในการเข้าใจการเมืองไทย – ระบบรัฐประหารในระบอบที่ตั้งชื่อไม่ได้

ปกป้อง จันวิทย์

9 Jan 2019

Politics

14 Dec 2018

อนาคตประเทศไทยหลังเลือกตั้ง : วังวนของการลุกฮือขึ้นขับไล่ผู้ปกครองเผด็จการ

อายุษ ประทีป ณ ถลาง มองการเมืองไทยหลังการเลือกตั้ง ที่อาจทำให้ประเทศไทยได้หัวหน้า คสช. เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ จากความพยายามสืบทอดอำนาจอันเอิกเกริก

อายุษ ประทีป ณ ถลาง

14 Dec 2018

อนาคตธุรกิจหนังสือ

11 Dec 2018

ไอดา อรุณวงศ์ : ความในใจที่ ‘นายประกัน’ ไม่เคยบอก

คุยกับ ‘ไอดา อรุณวงศ์’ บรรณาธิการสำนักพิมพ์อ่าน ว่าด้วยชีวิตและการงานหลังรัฐประหาร โดยเฉพาะบทบาทของการเป็น ‘นายประกัน’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

11 Dec 2018

Politics

8 Nov 2018

มอง ‘รัฐประหาร’ ผ่านสายตานักเศรษฐศาสตร์สถาบัน

อิสร์กุล อุณหเกตุ วิเคราะห์เหตุปัจจัยของการทำรัฐประหาร ผ่านแว่นของนักเศรษฐศาสตร์สถาบัน ซึ่งชี้ว่ารัฐประหารสามารถเกิดขึ้นได้ ทั้งในระบอบการเมืองที่เป็น และไม่เป็นประชาธิปไตย โดยมี ‘ผลประโยชน์ของกองทัพ’ เป็นตัวแปรสำคัญ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

8 Nov 2018
1 2 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save