เด็กแว้น การเมือง และเลือกตั้ง: ฟังเสียงสะท้อนจากปลายท่อของวัยรุ่นท่อดัง
เหล่า ‘เด็กแว้น’ เลือกใครในการเลือกตั้ง 2566

เหล่า ‘เด็กแว้น’ เลือกใครในการเลือกตั้ง 2566
101 ชวน พวงทอง ภวัครพันธุ์ และ พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ร่วมมองฉากทัศน์อนาคตของประชาธิปไตยไทยหลังการเลือกตั้ง 2566
101 คุยกับนักขับเคลื่อนสังคมและนักกิจกรรมทางการเมืองรุ่นใหม่ ทั้งสมาชิกกลุ่มนักเรียนเลวและทะลุแก๊ส กับความเห็นของพวกเขาต่อการลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ความคาดหวังของพวกเขาต่อการเมืองไทย และภาพอนาคตประเทศไทยในสายตาของเยาวชนของชาติ
ในวาระครบขวบปีการทำงานของศูนย์ความรู้นโยบายสาธารณะเพื่อการเปลี่ยนแปลง (101 Public Policy Think Tank) ทีมงาน 101 PUB เชิญชวนหลากหลายผู้มีบทบาทในโลกนโยบายสาธารณะ ทั้งนักวิชาการ นักวิจัย ผู้กำหนดนโยบาย นักเคลื่อนไหวทางสังคม นักการเมือง และสื่อมวลชน มาร่วมตั้งวงระดมสมองและแลกเปลี่ยนความคิดเรื่องบทต่อไปของประเทศไทยหลังเลือกตั้ง ทั้งโจทย์เชิงนโยบายและโจทย์ใหญ่ของประเทศ
คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพ’ ว่าด้วยปัจจัยจากองค์กรระหว่างประเทศที่ช่วยผลักดันให้การกระจายอำนาจเกิดขึ้นในประเทศกำลังพัฒนา
101 ชวน วรเจตน์ ภาคีรัตน์ มองภาพกว้างสังคมไทยว่าเราควรทำความเข้าใจอย่างไรต่อระบอบการปกครองที่เป็นอยู่นี้ คุณค่าหลักที่อยู่ในรัฐธรรมนูญคืออะไรและจะส่งผลอย่างไรต่อการต่อสู้ทางการเมือง จนถึงประเด็นที่ชวนคิดต่อการเลือกตั้ง 2566
101 ชวนทำความเข้าใจ ‘ระบอบการเมืองบนความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันกษัตริย์และกองทัพ’ ที่บทบาททางการเมืองของกองทัพและสถาบันกษัตริย์นำไปสู่การก่อร่างและดำรงอยู่ของ ‘ประชาธิปไตยแบบไทยๆ’ ผ่านทัศนะของ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี, พอล แชมเบอร์, อุกฤษฏ์ ปัทมานันท์ และดันแคน แม็กคาร์โก
ในวันที่สถานการณ์พื้นผิวดูนิ่งเงียบ เมื่อเทียบกับความร้อนแรงในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา 101 ชวน รศ.ดร.กุลลดา เกษบุญชู มี้ด ตั้งหลักวิเคราะห์การเมืองและรัฐไทยอีกครั้ง
คิด for คิดส์ ชวนผู้อ่านสำรวจปัญหาของระบอบการเมืองไทยที่ทำให้เสียงเยาวชนไร้ความหมาย เข้าใจถึงเหตุผลในการลดอายุผู้มีสิทธิเลือกตั้งจาก 18 เหลือ 15 ปี และร่วมขบคิดว่าถึงเวลาหรือยังที่เสียงเยาวชนควรถูกรับฟังผ่านการเลือกตั้งมากขึ้น
ศุภมิตร ปิติพัฒน์เขียนระลึกถึง Madeleine Albright อดีตรัฐมนตรีต่างประเทศสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งถึงแก่อนิจกรรม และชวนสำรวจความกังวลต่อลัทธิฟาสซิสต์ ซึ่งเป็นความกังวลสุดท้ายในชีวิตเธอ
101 คุยกับ เบนจา อะปัญ หนึ่งในนักศึกษาผู้ต่อสู้เพื่อนประชาธิปไตยและความเท่าเทียม ย้อนมองชีวิต การเคลื่อนไหวที่ผ่านมา และอนาคตที่ยังไม่แน่นอน
อายุษ ประทีป ณ ถลาง เขียนถึง การปรากฏตัวของนักการเมืองในห้วงเวลาที่สังคมต้องการความเปลี่ยนแปลง ซึ่งปัจจัยสำคัญหนึ่งที่จะนำไปสู่การแก้ปัญหาเชิงโครงสร้างได้คือการมั่นคงในอุดมการณ์ประชาธิปไตย
กษิดิศ อนันทนาธร เล่าถึงการรำลึกและต่อยอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยจาก “พวกพี่ๆ คณะ ร.ศ. 130” ของปรีดี พนมยงค์
ในวาระครบรอบรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 101 เปิดกรุต้นฉบับเก่า ชวนย้อนอ่านบทสัมภาษณ์ ‘ปิยบุตร แสงกนกกุล’ ว่าด้วยทหาร-รัฐประหาร-ประชาธิปไตยไทย ในฐานะบันทึกประวัติศาสตร์การเมืองไทยยุคปลายรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ต่อยุคต้นรัฐบาล คมช.
101 ชวนสำรวจอำนาจกองทัพไทยและข้อเสนอการปฏิรูปกองทัพให้ดำรงอยู่ท่ามกลางระบอบประชาธิปไตยได้อย่างมีเสถียรภาพผ่านมุมมองของ สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี สื่อมวลชนและนักวิจัยอิสระ ผู้เกาะติดเรื่องกองทัพ ความมั่นคงและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ โดยเฉพาะภูมิภาคอาเซียน
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า