fbpx

World

5 Mar 2024

ญี่ปุ่นกับเงินซุกมุ้งใน LDP ที่กำลังเป็นกรณีอื้อฉาวใหม่ทางการเมือง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกรณี ‘เงินซุกมุ้ง’ ที่เป็นเรื่องอื้อฉาวระลอกใหม่ของพรรค LDP เพื่อเปิดไปสู่ ‘การเมืองเรื่องมุ้ง’ ในภาพใหญ่ ว่ามีความเป็นมาอย่างไรและมีบทบาทหน้าที่อะไรถึงได้กลายเป็นแบบแผนและสถาบันภายในพรรค LDP เรื่อยมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Mar 2024

World

5 Jan 2024

Soft Power ที่คุณฝันถึงและข้อคำนึงบางประการ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนไตร่ตรองถึงแนวคิด ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ (soft power) จากมุมมองทางรัฐศาสตร์โดยพิจารณาถึงที่มา บทบาท และการทำงานของซอฟต์พาวเวอร์ ตลอดจนทิ้งข้อคิดเห็นบางประการไว้ว่าเหตุใดควรระวังในการนำคำว่า ‘ซอฟต์พาวเวอร์’ มาใช้ในการกำหนดยุทธศาสตร์และนโยบาย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

5 Jan 2024

World

24 Oct 2023

ไต้หวันกับการขยายแนวป้องกันตนเองของญี่ปุ่น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนสำรวจและวิเคราะห์ท่าทีของญี่ปุ่นต่อการสู้รบและความขัดแย้งที่ปะทุขึ้นในหลายภูมิภาคทั่วโลก พิจารณาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ ‘การป้องปราม’ ภัยคุกคามจีน ตลอดจนแนวคิด ‘การป้องกันตนเองร่วม’ ที่ทำให้ญี่ปุ่นขยายแนวตั้งรับครอบคลุมถึงเกาะไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

24 Oct 2023

Asia

23 Aug 2023

การเมืองเรื่องการปล่อยน้ำบำบัดกัมมันตรังสีฟุคุชิม่า

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงแผนระบายน้ำกัมมันตรังสีบำบัดแล้วของรัฐบาลญี่ปุ่นลงสู่มหาสมุทรแปซิฟิก ที่สั่นคลอนไปถึง ‘ความมั่นคงเชิงตัวตนและสถานะ’ การตัดสินใจนี้ส่งผลต่อจุดยืนและความชอบธรรมบนเวทีโลกของญี่ปุ่นอย่างไร

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

23 Aug 2023

World

29 Jun 2023

LGBTQ ในญี่ปุ่น: ส่องก้าวย่างด้านสิทธิจากมิติแรงกดดันระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การผ่าน ‘กฎหมายส่งเสริมความเข้าใจ’ กฎหมายว่าด้วยการสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศในญี่ปุ่น ซึ่งมีเนื้อหาที่กำกวม และออกมาในจังหวะที่ล่าช้า สะท้อนถึงการขับเคี่ยวและต่อรองที่ไม่ราบรื่นนักระหว่างหลักคุณค่าดั้งเดิมกับบรรทัดฐานใหม่ และแรงกดดันจากภายนอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

29 Jun 2023

World

27 Apr 2023

ญี่ปุ่น G7 กับการเป็นประเทศกลุ่มผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ญี่ปุ่นกับการเป็นเจ้าภาพการประชุม G7 ที่เป็นทั้งโอกาสในการผลักดันวาระสันติภาพเพื่อเตือนใจผู้นำโลกในฐานะเหยื่อนิวเคลียร์รายแรกและรายเดียวของโลก และเป็นทั้งแรงกดดันให้ญี่ปุ่นในฐานะมหาอำนาจสายพลเรือนมีพฤติกรรมตามมาตรฐานของมหาอำนาจ ที่ในเวลานี้ที่วาระโลกอยู่ที่สงครามรัสเซีย-ยูเครนและประเด็นความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Apr 2023

World

20 Feb 2023

แบ่งขั้ว ไม่แบ่งชิป: โตเกียวเลือกข้างระหว่างมหาอำนาจ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ยุทธศาสตร์สกัดกั้นไม่ให้จีนเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิต ‘ชิป’ ขั้นสูงของญี่ปุ่น ซึ่งสะท้อนถึงแนวโน้มการเลือกข้างออกห่างจากจีนเด่นชัดขึ้น

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

20 Feb 2023

World

25 Nov 2022

คิดไปทางไหนโลกหมุนไปทางนั้น? จากยูเครน ไต้หวัน สู่เวทีประชุมผู้นำโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์สถานการณ์ความตึงเครียดในการเมืองโลก ผ่านโลกทัศน์แบบ ‘คิดไปทางไหนทำให้ความจริงเป็นไปตามนั้น’ ของรัฐมหาอำนาจ และสัญญาณการคลายลงของโลกทัศน์ดังกล่าวหลังการประชุมสุดยอด 3 เวทีใหญ่ที่ผ่านมา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

25 Nov 2022

World

26 Sep 2022

‘มรดกโลก’ อีกเวทีที่ญี่ปุ่น-เกาหลีใต้ไม่ลดราวาศอก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง การเมืองว่าด้วยความทรงจำทางประวัติศาสตร์ระหว่างญี่ปุ่นและเกาหลีใต้ในกระบวนการเสนอชื่อขึ้นทะเบียน ‘มรดกโลก’ และ ‘ความทรงจำแห่งโลก’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Sep 2022

World

21 Oct 2021

ญี่ปุ่นและนายกฯ คนใหม่ในกระแสลมการเลือกตั้ง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์เส้นทางที่เต็มไปด้วยเรื่องเหนือความคาดหมายในการก้าวสู่ตำแหน่งหัวหน้าพรรค LDP ซึ่งปูทางให้ ฟุมิโอะ คิชิดะ ขึ้นมากุมบังเหียนรัฐบาล และความเป็นไปได้ของหมากเกมการเมืองหลังการประกาศยุบสภาเลือกตั้งใหม่

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

21 Oct 2021

Global Affairs

19 Aug 2021

การคะเนพลาดในประวัติศาสตร์สงคราม

ในวาระครบรอบ 76 ปีสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ‘การคะเนพลาด’ ในยุทธศาสตร์สงครามของทั้งชาติฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่านอักษะจนกลายเป็นหุบเหวไปสู่มหาสงคราม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

19 Aug 2021

World

28 Jun 2021

วาทกรรมมือที่สามในยามที่จีนก้าวเป็นใหญ่ในภูมิภาค

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์วาทกรรม ‘มือที่สาม’ ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ของจีน เพื่อสร้างภาพพจน์และส่งเสริมอำนาจจีนในเวทีการเมืองระหว่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

28 Jun 2021

World

26 Apr 2021

เกมการยั่วแหย่ในยุทธศาสตร์ข้อพิพาททะเลจีน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกลวิธีสีเทาที่จีนกำลังใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายทางยุทธศาสตร์ นั่นคือการ ‘ยั่วแหย่’ ทางทะเลต่อชาติคู่อริในทะเลจีน โดยมองญี่ปุ่นเป็นกรณีศึกษา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

26 Apr 2021

Asia

17 Feb 2021

ขจัดให้หมดไปหรือจะคงไว้เพื่อการยับยั้ง: ญี่ปุ่นบนทางแพร่งนิวเคลียร์

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงสถานะย้อนแย้งที่กลายเป็น ‘ทางแพร่ง’ ของชาติต่างๆ ในเรื่องการเข้าร่วมความพยายามขจัดนิวเคลียร์ พร้อมทั้งเล่าถึงกรณีของ ‘ประเทศญี่ปุ่น’ ที่ต้องเผชิญเหตุผลสุดโต่งทั้งสองด้าน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Feb 2021

Asia

27 Dec 2020

เพื่อจักรพรรดิยังยืนยง ยามอัสดงแดนอาทิตย์อุทัย

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงกระบวนการที่ทำให้สถาบันจักรพรรดิอันเก่าแก่และอนุรักษนิยม คงอยู่ได้กับระบอบประชาธิปไตยซึ่งกลายเป็นแก่นคุณค่าใหม่ในสังคมญี่ปุ่นและในสากลโลกในยุคหลังสงคราม พร้อมทั้งสำรวจสถานะและบทบาทที่คลุมเครือของสถาบัน อันเกิดจากความพยายามประนีประนอมและ ‘หลอมรวมแบบญี่ปุ่น’

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

27 Dec 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save