fbpx

Asia

13 Oct 2020

เมื่อญี่ปุ่นเริ่มขบคิดเรื่องการติดอาวุธจู่โจม

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเรื่องการติดอาวุธจู่โจม (strike capability) ในญี่ปุ่น – อะไรคือข้อจำกัดที่ทำให้ญี่ปุ่นไม่อาจคิดที่จะมีสมรรถนะด้านนี้มาก่อน และปัจจัยใดที่ทำให้ญี่ปุ่นเริ่มมองเรื่องการติดอาวุธจู่โจมเป็นตัวเลือกเชิงยุทธศาสตร์ในเวลานี้

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

13 Oct 2020

Asia

18 Aug 2020

รำลึกสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง – ฉลองวาทกรรมความเป็นเหยื่อ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์การใช้การตีความอดีตเป็นเครื่องมือในเกมอำนาจในภูมิภาคเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะการใช้ ‘วาทกรรมความเป็นเหยื่อ’ หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ในฐานะต้นทุนเพื่อสร้างความชอบธรรมในทางการเมืองและการต่างประเทศ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Aug 2020

Issue of the Age

16 Jun 2020

โควิดและโอกาสของญี่ปุ่นในยุทธศาสตร์ความมั่นคง

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์โอกาสด้านยุทธศาสตร์ที่ญี่ปุ่นอาจหยิบฉวยในช่วงโควิดผ่านมุมมอง 3 ด้าน ซึ่งช่วยให้เห็นแนวโน้มปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐมหาอำนาจหลักและรองในเอเชีย ตลอดจนระเบียบของภูมิภาคที่จะดำเนินต่อไปในระยะยาว

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Jun 2020

Issue of the Age

2 Jun 2020

ญี่ปุ่นในสมรภูมิ COVID-19 กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 สนทนากับ ผศ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาด และการรับมือกับไวรัส COVID-19 ของประเทศญี่ปุ่น

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

2 Jun 2020

Talk Programmes

27 May 2020

101 One-On-One Ep.145 : ญี่ปุ่นในสมรภูมิ COVID-19

เมื่อโควิด-19 มาเยือน ประเทศที่เจอภัยพิบัติบ่อยเป็นอันดับต้นๆ อย่าง ‘ญี่ปุ่น’ มีมาตรการรับมืออย่างไร โรคระบาดกระทบกับเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของญี่ปุ่นอย่างไรบ้าง และชะตากรรมของ ‘โตเกียวโอลิมปิก’ จะเป็นอย่างไรในห้วงยามแห่งโรคระบาดนี้

101 One-on-One

27 May 2020

Issue of the Age

16 Apr 2020

โอลิมปิกแห่งโชคชะตา : จากฮิโรชิม่า ฟุคุชิม่า สู่ไวรัสโคโรนา

ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึงความสำคัญและความหมายของโตเกียวโอลิมปิก 2020 ต่อญี่ปุ่น และทางแพร่งที่รัฐบาลต้องตัดสินใจในการเลื่อนจัดโอลิมปิกออกไป

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

16 Apr 2020

China

18 Feb 2020

เกมการบั่นคลอนสถานะ : อีกหนึ่งแนวปะทะสองฝั่งฟากช่องแคบไต้หวัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล ชวนอ่านเกมการ ‘บั่นคลอน’ สถานะของจีนและไต้หวันบนเวทีระหว่างประเทศ พร้อมทั้งหาคำตอบว่าการแข่งขันดังกล่าวเป็นแนวหน้าที่สำคัญอย่างไร และทั้งสองฝั่งใช้กลยุทธ์อะไรเพื่อต่อกรกัน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

18 Feb 2020

Global Affairs

17 Sep 2019

ความน่าเชื่อถือและชื่อเสียงในทะเลจีนใต้ : หมากสำคัญในเกมมหาอำนาจ จีน-สหรัฐฯ

ธีวินท์ สุพุทธิกุล วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ของจีน-สหรัฐฯ เหนือทะเลจีนใต้ อันเป็นหนึ่งในหมากสำคัญของการช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลก

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

17 Sep 2019

Asia

23 Aug 2019

ธีวินท์ สุพุทธิกุล : เอ็กซเรย์ ‘ญี่ปุ่น’ ภายใต้ศักราชใหม่

คุยกับ ผศ.ดร.ธีวินท์ สุพุทธิกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ ว่าด้วยความท้าทายของญี่ปุ่นในมิติต่างๆ ตั้งแต่การเมืองภายใน ที่ทางในบริบทโลก ไปจนถึงเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยของสังคมญี่ปุ่นที่หลายคนอาจไม่เคยรู้

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

23 Aug 2019

World

17 Jul 2019

อ่านการเมืองญี่ปุ่น กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 ชวนอ่านการเมืองญี่ปุ่นกับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของการเมืองภายใน และภูมิศาสตร์การเมืองโลก ญี่ปุ่นต้องเผชิญกับความท้าทายใหญ่ อันสมกับสถานะมหาอำนาจ ญี่ปุ่นมองการเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวอย่างไร?

กองบรรณาธิการ

17 Jul 2019

Talk Programmes

16 Jul 2019

101 one-on-one Ep.79 “อ่านการเมืองญี่ปุ่น” กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล

101 one-on-one Ep.79 “อ่านการเมืองญี่ปุ่น” กับ ธีวินท์ สุพุทธิกุล ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรรณิการ์ กิจติเวชกุล ดำเนินรายการ

101 One-on-One

16 Jul 2019
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save