fbpx

Justice & Human Rights

26 Oct 2022

ให้เสียงเยาวชนมี ‘ความหมาย’: เปิดกระบวนการนโยบายให้เยาวชนมีส่วนร่วม

คิด for คิดส์ ชวนสำรวจปัญหาการขาดช่องทางการมีส่วนร่วมอย่าง ‘มีความหมาย’ ของเยาวชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และเสนอแนวทางขยายช่องทางดังกล่าว เพื่อให้นโยบายตอบสนองปัญหาและความต้องการของเยาวชนได้ดีขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

26 Oct 2022

Politics

19 Oct 2022

ประเทศไทยไม่ต้องการศาลรัฐธรรมนูญ

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณาการดำรงอยู่ของศาลรัฐธรรมนูญไทย โดยเฉพาะบทบาทในการปกป้องคุณค่าประชาธิปไตยและสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน

มุนินทร์ พงศาปาน

19 Oct 2022

Politics

16 Oct 2022

คดีความผิดมาตรา 112 กับกระบวนการยุติธรรมไทยที่ไปไม่ค่อยเป็น

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองอาการ ‘ไปไม่เป็น’ ของกระบวนการยุติธรรม เมื่อเผชิญกับคดี 112 จนทำให้มีการพิจารณาคดีที่ไม่เป็นไปตามหลักกฎหมาย

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

16 Oct 2022

Thai Politics

14 Oct 2022

ไขแสง สุกใส: ส.ส. คอมมิวนิสต์? กบฏรัฐธรรมนูญ และจุดเริ่มต้น 14 ตุลาฯ

เรื่องราวของ ไขแสง สุกใส หนึ่งในนักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 14 ตุลาฯ และการเข้าป่า

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

14 Oct 2022

Politics

11 Oct 2022

‘วิสามัญมรณะ’: การตายในชีวิตประจำวันของสามัญชนด้วยน้ำมือรัฐ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนทำความรู้จัก ‘วิสามัญมรณะ’ อันหมายถึงการเสียชีวิตของบุคคล โดยที่เจ้าหน้าที่รัฐเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องอยู่ในฐานะต่างๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Oct 2022

US

7 Oct 2022

ความยุติธรรมนั้นอยู่ที่ไหน จากไทยแลนด์ถึงสหรัฐอเมริกา

จากเหตุการณ์ 6 ตุลาในไทยที่ยังหาผู้รับผิดไม่ได้ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณชวนมองไปถึงการเรียกร้องความเป็นธรรมของคนผิวดำในอเมริกา โดยต้องเริ่มต้นจากการทำให้ ‘ประวัติศาสตร์ของผู้ถูกกระทำ’ เป็น ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ และวิพากษ์ประวัติศาสตร์ชาตินิยมดั้งเดิมได้อย่างมีน้ำหนัก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Oct 2022

Politics

6 Oct 2022

ที่นี่มีคนตาย (แต่ไม่มีคนผิด?) : ความหวาดกลัวของรัฐลอยนวลกับการลงนาม ICC

101 ชวนทำความเข้าใจเรื่อง ICC โอกาสในการยื่นคดีให้พิจารณา เหตุผลที่ต้องให้สัตยาบัน ข้อถกเถียงเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์ และอุปสรรคที่ทำให้เรื่องนี้ยังไม่สำเร็จ

วจนา วรรลยางกูร

6 Oct 2022

Politics

29 Sep 2022

โหดร้ายเหมือนไม่ใช่คน

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนคิดถึงสาเหตุที่ทำให้คนธรรมดาคนหนึ่งสามารถออกคำสั่งที่โหดร้ายต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้ โดยเฉพาะหากมองว่าสิ่งนี้เป็นเรื่องของ ‘ระบบ’

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

29 Sep 2022

Social Issues

22 Sep 2022

‘สตรี-ชีวิต-อิสรภาพ’ เมื่อผู้หญิงลุกมาเผาฮิญาบเพื่อประท้วงตำรวจศีลธรรมในอิหร่าน

สตรีในอิหร่านลุกขึ้นมาตัดผม-เผาฮิญาบเพื่อแสดงเจตจำนงต่อต้านต่อกฎระเบียบการแต่งกายอันเข้มงวดในประเทศ ภายหลังจาก มาห์ซา อามินี หญิงสาวคนหนึ่งถูกตำรวจศีลธรรมจับกุมและเสียชีวิตอย่างเป็นปริศนาจากนั้นไม่นาน ด้วยข้อหาว่าเธอแต่งกายผิดระเบียบที่รัฐกำหนด

พิมพ์ชนก พุกสุข

22 Sep 2022

TIJ x 101

20 Sep 2022

มองอนาคต-ปฏิรูประบบยุติธรรมในอาเซียน รับมือโลกยุคดิจิทัลและ New Normal

101 ชวนมองปัญหาของระบบยุติธรรมในอาเซียนท่ามกลางวิกฤตโควิด-19 และการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล พร้อมหาแนวทางปฏิรูประบบยุติธรรมให้ตอบโจทย์อนาคต

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

20 Sep 2022

TIJ x 101

12 Sep 2022

เมื่อโควิด-19 เปลี่ยนระบบยุติธรรม และสั่นคลอนความเชื่อมั่นต่อระบบยุติธรรมในอาเซียน

101 ชวนมองสถานการณ์ระบบยุติธรรมของอาเซียนในช่วงเวลาแห่งการระบาดของโควิด-19 ที่ต้องเจอความท้าทายและภัยคุกคามที่ซับซ้อนมากขึ้น

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

12 Sep 2022

Social Issues

24 Aug 2022

เติมความเป็นมนุษย์ให้กระบวนการยุติธรรม ด้วย ‘กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์’ กับ อุกฤษฏ์ ศรพรหม

อนาคตของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในไทยควรมีทิศทางอย่างไรต่อ? 101 สนทนากับ อุกฤษฏ์ ศรพรหม ผู้จัดการโครงการและนักวิจัยด้านกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ว่าด้วยหลักคิดของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ เส้นทางของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ในไทย และแนวทางการปรับใช้และพัฒนาหลักดังกล่าวให้บรรลุผลอย่างแท้จริง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

24 Aug 2022

TIJ x 101

28 Jul 2022

โอกาสสถาน: ออกแบบโอกาส-สร้างพื้นที่ความเข้าใจผู้ต้องขังหญิง กับทีมสถาปัตย์ ม.กรุงเทพ

101 สนทนากับทีมโอกาสสถาน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ว่าด้วยเบื้องหลังความคิดในการ ‘ออกแบบ’ โอกาสและความเข้าใจต่อผู้ต้องขังหญิง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Jul 2022

Politics

20 Jul 2022

ถึงเวลาเปลี่ยนรูปแบบคำพิพากษา จาก ‘อำนาจนิยม’ เป็น ‘เหตุผลนิยม’

มุนินทร์ พงศาปาน ชวนพิจารณารูปแบบการเขียนคำพิพากษาและคำสั่งของศาลไทยที่สั้นจนดูเหมือนจะเน้นไปที่ ‘ผล’ หรือ ‘ธงคำตอบ’ มากกว่า ‘เหตุผลในทางกฎหมาย’

มุนินทร์ พงศาปาน

20 Jul 2022
1 5 6 7 19

RECOMMENDED

101PUB

2 May 2024

ความเป็นไทยภายใต้ระบบยุติธรรมที่ถูกแช่แข็ง

TIJ ร่วมกับ 101 PUB ชวนสำรวจปัจจัยเชิงสถาบัน หรือ ‘ความเป็นไทย’ ภายใต้กระบวนการยุติธรรมที่ถูกแช่แข็ง จนการปฏิรูปที่ผ่านมาต้องพบกับความล้มเหลว

101 PUB

2 May 2024

Documentary

16 May 2024

ขอให้รักแห่ง ‘ใจแผ่นดิน’ จงเจริญ : 10 ปี อุ้มหาย ‘บิลลี่ พอละจี’ กับการต่อสู้เพื่อสิทธิกลุ่มชาติพันธุ์ของชาวบ้านบางกลอย

101 พาไปเปิดกล่องความทรงจำถึง ‘บิลลี่ พอละจี’ สัมผัสชีวิตชาวบ้านที่ต้องอยู่อาศัยอย่างยากลำบากที่บางกลอยล่าง และทบทวนเรื่องราวการต่อสู้ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันของพี่น้องบางกลอย ที่ยังคงรอคอยวันจะกลับคืนสู่บางกลอยบน-ใจแผ่นดิน

ณัชชา สินคีรี

16 May 2024

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save