fbpx

Thai Politics

12 Nov 2020

การเมืองทำให้โง่?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เปิดงานวิจัย เพราะอะไรการเมืองจึงทำให้เราโง่ และเพราะเหตุใดการถกเถียงด้วยเหตุผลในเรื่องทางการเมืองจึงมักไม่สัมฤทธิ์ผล

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 Nov 2020

Science & Innovation

10 Nov 2020

Sharing is Caring : เมื่อบริษัทเทคโนโลยีเปลี่ยนแนวคิดของปุ่มแชร์

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงรูปแบบใหม่ของปุ่มแชร์ในโซเชียลมีเดีย ที่สร้างจังหวะสกรีนให้ผู้ใช้ฉุกคิดก่อนแชร์

โสภณ ศุภมั่งมี

10 Nov 2020

Science & Innovation

22 Oct 2020

ต้องศิวิไลซ์แค่ไหน ถึงจะเลิกใช้ความรุนแรง

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความรุนแรงอันเป็นสิ่งที่มนุษย์ไม่พึงปรารถนา แต่กลับเป็นส่วนหนึ่งของวิวัฒนาการอย่างแยกไม่ออก

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

22 Oct 2020

Science & Innovation

21 Oct 2020

สมองเราเป็นอย่างไร เมื่อต้องตัดสินใจเชิงจริยธรรม

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ เขียนถึง ‘ปริศนารถราง’ ที่ทดสอบการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของมนุษย์ รวมถึงการทำงานของสมองในภาวะที่ต้องใช้ ‘เหตุผล’ กับ ‘สัญชาตญาณ’

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

21 Oct 2020

Science & Innovation

20 Oct 2020

ทำไมไมโครซอฟต์ถึงเจาะตลาดสมาร์ตโฟนไม่สำเร็จ? : บทเรียนราคาแพงของยักษ์ใหญ่แห่งวงการเทคโนโลยี

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงเหตุผลเบื้องหลังที่บริษัทยักษ์ใหญ่อย่างไมโครซอฟต์ตกขบวนตลาด ‘สมาร์ตโฟน’

โสภณ ศุภมั่งมี

20 Oct 2020

Science & Innovation

15 Oct 2020

พวกมากลากศาสตร์ : ว่าด้วยการจลาจล

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงวิทยาศาสตร์ของการก่อจลาจลในการชุมนุมประท้วง ธรรมชาติของจลาจลเป็นอย่างไร และอะไรคือตัวจุดชนวน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Oct 2020

Science & Innovation

16 Sep 2020

Social Manipulation : เมื่อโซเชียลมีเดียจูงใจให้คลิก ซื้อ และตัดสินใจ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการเข้าถึงข้อมูลของบริษัทโซเชียลมีเดีย ที่ใช้ข้อมูลพฤติกรรมในออนไลน์ของเราเพื่อผลประโยชน์ทั้งในทางธุรกิจและการตรึงเราไว้กับหน้าจอ

โสภณ ศุภมั่งมี

16 Sep 2020

Science & Innovation

15 Sep 2020

ไม่ตายดอก เพราะอดเสน่หา?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจวิทยาศาสตร์ของหัวใจ คนเราอกหักแล้วตายได้จริงไหม และผู้หญิงกับผู้ชายใครมีโอกาสป่วยเป็น ‘โรคอกหัก’ มากกว่ากัน

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Sep 2020

Thought Starter

25 Aug 2020

โชค VS ความสามารถ : การศึกษาว่าอะไรสำคัญกว่ากัน

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล ชวนวิเคราะห์ต้นตอของความสำเร็จด้วยสมการที่มีส่วนผสมระหว่างความสามารถ โชค และตัวแปรที่แตกต่างกันในแต่ละวงการ

ทีปกร วุฒิพิทยามงคล

25 Aug 2020

Science & Innovation

18 Aug 2020

สู้ความอยุติธรรม

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปรู้จักสมองของมนุษย์เมื่อต้องเจอกับความอยุติธรรม เราจะรับมืออย่างไร และจะควบคุมอารมณ์ตัวเองอย่างไรในภาวะเช่นนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์

18 Aug 2020

Brainbug

23 Jul 2020

Blindsight การมองเห็นโดยไม่ต้องรับรู้ว่ามองเห็น : เปิดเส้นทางประสาทลับเก่าแก่ในสมอง

คอลัมน์ Brainbug เดือนนี้ ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์ เขียนถึง Blindsight – การมองเห็นโดยเจ้าตัวไม่รับรู้ว่ามองเห็น ซึ่งเกิดจากการทำงานของเส้นประสาทลึกลับเก่าแก่ในสมอง

ชัยภัทร ชุณหรัศมิ์

23 Jul 2020

Science & Innovation

19 Jul 2020

Bye Bye Intel – เมื่อ Apple เลือกจบความสัมพันธ์กับ Intel ที่ยาวนานกว่าทศวรรษ

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการเปลี่ยนผ่านความสัมพันธ์ระหว่าง Apple กับการใช้ชิปของ Intel เจ้าตลาดโปรเซสเซอร์

โสภณ ศุภมั่งมี

19 Jul 2020

Life & Culture

16 Jul 2020

ทำไมคนเชื่อเฟกนิวส์?

นำชัย ชีววิวรรธน์ ชวนตั้งคำถามว่า เฟกนิวส์ทำหน้าที่อย่างไร ทำไมคนจึงยังเชื่อทั้งที่บางข่าว ฟังอย่างไรก็ไม่น่าเป็นไปได้สักนิด เราติดกับอะไรกันอยู่

นำชัย ชีววิวรรธน์

16 Jul 2020

Life & Culture

9 Jul 2020

การทดลองในสัตว์ ไม่ทำได้ไหม? อะไรคือทางออก?

ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์ ชวนย้อนดูวิทยาการของวิทยาศาสตร์การแพทย์และจริยธรรมเกี่ยวกับการทดลองในสัตว์

ลลิตตา สุริยาอรุณโรจน์

9 Jul 2020
1 7 8 9 15

MOST READ

Education

22 Apr 2024

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะสอนอย่างไร เมื่อ ChatGPT บุกห้องเรียน: ตัวอย่างการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์

อาจารย์มหาวิทยาลัยจะปรับตัวอย่างไรที่จะใช้ ChatGPT ในการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ เมื่อหลายเรื่องที่ฝึกฝนผู้เรียนอยู่ตอนนี้สามารถใช้โมเดลให้ทำได้ในพริบตา

ตะวัน มานะกุล

22 Apr 2024

Science & Innovation

9 Apr 2024

‘อติเทพ ไชยสิทธิ์’ กับฟิสิกส์การได้ยินของคน กบ หนู และตั๊กแตน

101 ชวนอติเทพ ไชยสิทธิ์ คุยถึงศาสตร์ฟิสิกส์การได้ยินในระดับเซลล์ในไทยและระดับโลก ไปจนถึงงานวิจัยศึกษาการได้ยินของสัตว์อย่างหนู กบ ตั๊กแตนของเขา

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

9 Apr 2024

Science & Innovation

7 Apr 2024

อ่อนแอก็สูญพันธุ์! มหาวิทยาลัยกับการปรับตัวอย่างสร้างสรรค์ต่อ ChatGPT

ตะวัน มานะกุล ชวนคิดถึงแนวทางการรับมือ ChatGPT ในโลกการศึกษา หากมหาวิทยาลัยเลือกที่จะมีบทบาทนำและออกนโยบายในการปรับตัว

ตะวัน มานะกุล

7 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save