fbpx

Thai Politics

2 Nov 2022

“เขาหาว่าแม่ฉันเป็นผู้หญิงหากิน” การแจ้งเกิดของวัฒน์ วรรลยางกูรในนิตยสารยานเกราะ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

2 Nov 2022

Thai Politics

1 Nov 2022

ประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และ 6 ตุลาฯ ที่อยากจำแต่กลับลืม

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการจัดการกับความทรงจำร่วมในสังคมไทยอย่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ว่าทำไมการรำลึกจึงอาจถือว่าเป็นการลืมรูปแบบหนึ่ง และเราควรจะจดจำเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีตอย่างไร

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Nov 2022

Media

31 Oct 2022

กำไลอีเอ็ม ตรวนแห่งศตวรรษที่ 21 และการถูกพรากอิสรภาพโดยรัฐ

‘กำไลอีเอ็ม ตรวนแห่งศตวรรษที่ 21 และการถูกพรากอิสรภาพโดยรัฐ’ วิดีโอที่สำรวจภาวะลักลั่นของกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ใช้กำไลอีเอ็มอันเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่คืนเสรีภาพให้มนุษย์ มาใช้กับคนที่ต้องคดีอาญาเพียงเพราะใช้เสรีภาพในการแสดงออก

กองบรรณาธิการ

31 Oct 2022

Politics

28 Oct 2022

101 In Focus Ep.152: ควบรวมทรู – ดีแทค: ปัญหาของมติ ‘รับทราบ’ การควบรวม

101 in focus สัปดาห์นี้สนทนาถึงประเด็นมหากาพย์การควบรวมระหว่างทรู (TRUE) และดีแทค (DTAC) ในแง่มุมการส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค

กองบรรณาธิการ

28 Oct 2022

Politics

28 Oct 2022

เมื่อแสดงออกตามสิทธิ จึงถูกจำกัดเสรีภาพ: ชีวิตภายใต้พันธนาการของกำไลอีเอ็ม

กำไลติดตามตัวหรือกำไลอีเอ็มเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อคืนเสรีภาพให้ผู้ต้องหา หากแต่เมื่อมันถูกนำมาใช้กับกลุ่มคนที่ต้องคดีจากการแสดงความคิดเห็นตามสิทธิเสรีภาพที่พึงมี ก็ชวนให้ตั้งคำถามถึงภาวะแห่ง ‘ความย้อนแย้ง’ ของกำไลอีเอ็มและระบบความยุติธรรมในไทย

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Oct 2022

Justice & Human Rights

26 Oct 2022

ให้เสียงเยาวชนมี ‘ความหมาย’: เปิดกระบวนการนโยบายให้เยาวชนมีส่วนร่วม

คิด for คิดส์ ชวนสำรวจปัญหาการขาดช่องทางการมีส่วนร่วมอย่าง ‘มีความหมาย’ ของเยาวชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และเสนอแนวทางขยายช่องทางดังกล่าว เพื่อให้นโยบายตอบสนองปัญหาและความต้องการของเยาวชนได้ดีขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

26 Oct 2022

Politics

26 Oct 2022

กองทัพ-ตำรวจ กับการเมือง และความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ทวีความรุนแรง

ภายหลังเหตุโศกนาฏกรรมที่หนองบัวลำภู ทำให้กระแสการปฏิรูปตำรวจถูกเป็นที่พูดถึงในสังคมอีกครั้ง 101 จึงชวน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและเลขาธิการพรรคประชาชาติ อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาสนทนาถึงประเด็นอันแหลมคมและร้อนระอุในสังคมขณะนี้ ว่าการปฏิรูปตำรวจและกองทัพนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ตลอดจนท่าทีต่อประเด็นนี้ในสนามเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

26 Oct 2022

Politics

25 Oct 2022

การหลุดลอยของวงเล็บ ‘(รีปับลิก)’ ท้ายคำว่า ‘ประชาธิปตัย’ หลังการปฏิวัติ 2475

ว่าด้วยความหมายของคำว่า ‘รีปับลิก’ ตั้งแต่ก่อนและหลัง 2475 เมื่อประเทศไทยเคยมี ‘ประชาธิปตัย (รีปับลิก)’ แล้วตอนนี้หายไปไหน หายอย่างไร

อิทธิเดช พระเพ็ชร

25 Oct 2022

Global Affairs

21 Oct 2022

From Trojan Horse to Pegasus: When the Big Brother is watching you

101 Documentary ชวนชมสารคดี ‘เปกาซัส’ เจาะปัญหาว่าด้วยการใช้สปายแวร์เพื่อหยุดยั้งความเปลี่ยนแปลงจากขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในไทย

กองบรรณาธิการ

21 Oct 2022

Thai Politics

20 Oct 2022

(พรรค) ‘สร้างอนาคตไทย’ กับ สุรนันทน์ เวชชาชีวะ

101 ชวน สุรนันทน์ เวชชาชีวะ ตีโจทย์การเมืองไทยบนถนนสู่การเลือกตั้ง วิเคราะห์ที่ทางของพรรคสร้างอนาคตไทยในภูมิทัศน์การเมืองใหม่ และมองบทบาทตัวเองในการเลือกกลับสู่สนามการเมืองไทยอีกครั้ง

กรกมล ศรีวัฒน์

20 Oct 2022

Social Problems

19 Oct 2022

มายาการแห่งอัตลักษณ์: ความหลงผิดว่าด้วยอัตลักษณ์กับการแยกขั้วแยกข้างในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์ อธิบายถึง ‘มายาการแห่งอัตลักษณ์’ ซึ่งทำให้คนหลงในอัตลักษณ์ตนเอง และแบ่งแยกคนอื่น จนนำไปสู่ความขัดแย้งร้าวลึกในสังคม

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

19 Oct 2022

Politics

19 Oct 2022

น้ำเต้าหู้ มรดกอาหารสมัยคณะราษฎร

นริศ จรัสจรรยาวงศ์ เขียนที่มาความนิยมรับประทาน ‘น้ำเต้าหู้’ ซึ่งปรากฏทั่วแห่งหนในประเทศไทย โดยมีที่มาจากรัฐบาลคณะราษฎร

นริศ จรัสจรรยาวงศ์

19 Oct 2022

Politics

18 Oct 2022

101 One-on-One Ep.279 ‘กองทัพ-ตำรวจ กับ การเมือง’ กับ ทวี สอดส่อง

101 ชวน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและเลขาธิการพรรคประชาชาติ อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาชวนคุยเรื่องการปฏิรูปกองทัพและตำรวจ และที่ทางของนโยบายเหล่านี้ในสนามการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง

101 One-on-One

18 Oct 2022

Politics

14 Oct 2022

ภาพ “หลอน”

ธนาวิ โชติประดิษฐ เขียนถึงนิทรรศการ ‘6 ตุลา เผชิญหน้ากับปีศาจ’ ที่ใช้ภาพถ่ายร่วมกันเล่าเรื่องราว พาเรากลับไปสัมผัสประวัติศาสตร์บาดแผลของสังคมไทย

ธนาวิ โชติประดิษฐ

14 Oct 2022

Thai Politics

14 Oct 2022

ไขแสง สุกใส: ส.ส. คอมมิวนิสต์? กบฏรัฐธรรมนูญ และจุดเริ่มต้น 14 ตุลาฯ

เรื่องราวของ ไขแสง สุกใส หนึ่งในนักการเมืองที่มีบทบาทสำคัญต่อประวัติศาสตร์การเมืองไทย ตั้งแต่ทศวรรษ 2500 14 ตุลาฯ และการเข้าป่า

สุดารัตน์ พรมสีใหม่

14 Oct 2022
1 14 15 16 73

MOST READ

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

Thai Politics

11 Apr 2024

“ผมจะแก้สิ่งที่เป็นอุปสรรคต่อประชาธิปไตย ..ไม่ก็รื้อทิ้งเสีย” การลงสมัคร สว. ในฐานะ ‘ภารกิจสุดท้าย’ ของ พนัส ทัศนียานนท์

101 สนทนากับ พนัส ทัศนียานนท์ ผู้ประกาศตัวลงสมัครเป็น ‘สว.ของประชาชน’ โดยมีภารกิจเข้าไปแก้ไขรัฐธรรมนูญให้อำนาจสูงสุดเป็นของประชาชนอย่างแท้จริง เป็น ‘ภารกิจสุดท้าย’

ชลธิชา ทักษิณาเวศน์

11 Apr 2024

Thai Politics

10 Apr 2024

สมมติสนทนาเรื่อง สว. กับ ‘บิดาแห่งรัฐธรรมนูญ 2560’

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ทดลองสร้างสมมติสนทนาเรื่องการคัดเลือกสมาชิกวุฒิสภากับ มีชัย ฤชุพันธุ์ ในฐานะ ‘บิดาแห่งรัฐธรรมนูญ 2560’

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

10 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save