fbpx

Law

16 May 2018

“ผมจะเป็นประธานศาลฎีกา”

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนตั้งคำถามด้านกลับของข้ออ้าง “ความเป็นอิสระของศาล” ที่ต้องการปลอดการเมือง ปราศจากการแทรกแซงจากบุคคลภายนอก ว่าตุลาการจะยึดโยงกับประชาชนได้อย่างไร ภายใต้อุดมการณ์แบบเสรีประชาธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 May 2018

Politics

11 Apr 2018

ตุลาการธิปไตย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจแนวโน้มและข้อถกเถียงว่าด้วยการขยายทางอำนาจของฝ่ายตุลาการในประเทศประชาธิปไตยใหม่ จากพื้นที่ทางกฎหมายสู่การเมืองและนโยบายสาธารณะ “ตุลาการธิปไตย” ส่งผลต่อหลักการแบ่งแยกอำนาจฝ่ายบริหาร นิติบัญญัติ และตุลาการอย่างไร นี่คือระบบอำนาจนิยมอีกแบบหนึ่งหรือไม่

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Apr 2018

Spotlights

29 Mar 2018

บทเรียนจากข่าวฉาวเฟซบุ๊กถึงไทย : การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลด้วยกฎหมายแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช ชวนมองปัญหาข่าวการรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ใช้บริการ Facebook ผ่าน “การแข่งขันในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล” พร้อมตั้งคำถามว่า การเป็นเจ้าตลาดของ Facebook ในตลาด Social Media ส่งผลต่อส่งผลต่อการคุ้มครองข้อมูลผู้บริโภคอย่างไร และกฎหมายแข่งขันทางการค้าของไทยพร้อมหรือไม่ในการกำกับดูแลในเรื่องนี้

กนกนัย ถาวรพานิช

29 Mar 2018

Politics

14 Mar 2018

ซากเดนของเผด็จการ

แม้ผู้นำเผด็จการจะจากไป แต่ซากเดนของระบอบเผด็จการยังคงอยู่ สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจกรณีตัวอย่างของภาระและปัญหานานัปการที่ระบอบเผด็จการทิ้งไว้ให้สังคมต้องแบกรับกันต่อไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Mar 2018

Law

14 Feb 2018

สิเน่หาอาชญากรรม

ในบรรยากาศวันแห่งความรัก สมชาย ปรีชาศิลปกุล สำรวจความหมายของ ‘ความรัก’ ในคำพิพากษา เพศวิถีในแวดวงตุลาการดำเนินไปในทิศทางเดียวกับโลกที่กำลังหมุนไป หรือยิ่งห่างไกลมากขึ้นเรื่อยๆ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Feb 2018

Law

29 Jan 2018

ผลประโยชน์ทับซ้อน : จากหลักการถึงร่างกฎหมายแบบไทยๆ

จากประกาศห้ามบุคลากรทางการแพทย์ชาร์จมือถือในโรงพยาบาล สู่กรณี ‘นาฬิกาของเพื่อน’ อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจหลักการเรื่อง ‘ผลประโยชน์ทับซ้อน’ และวิเคราะห์ปัญหาของร่างกฎหมายว่าด้วยความผิดเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม ซึ่งกำลังได้รับการพิจารณาอยู่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ

อิสร์กุล อุณหเกตุ

29 Jan 2018

Law

17 Jan 2018

อำมาตย์ตุลาการอำพราง

สมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ระบบสอบเข้าดำรงตำแหน่งผู้พิพากษา จากความบากบั่นในการ “ลอดรูเข็ม” ถึงการพรางตัวของชนชั้นนำตุลาการ สามัญชนมีโอกาสนั่งบัลลังก์ศาลมากน้อยเพียงใด การสอบเป็นการแข่งขันกันด้วยความสามารถล้วนๆ จริงหรือไม่ และกระบวนการสอบมีความหมายทางการเมืองเช่นใด

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

17 Jan 2018

Law

9 Jan 2018

มอง ปตท. แจกข้าว ผ่านสายตากฎหมายการแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ มองกรณี ปตท. แจกข้าว โดยความร่วมมือของกระทรวงพลังงาน ผ่านสายตากฎหมายแข่งขันทางการค้า

กนกนัย ถาวรพานิช

9 Jan 2018

Law

26 Dec 2017

การแต่งงานเพศเดียวกัน : คำสารภาพของนักนิติเศรษฐศาสตร์

นานวันเข้า การแต่งงานเพศเดียวกันได้รับการยอมรับจากสังคมมากขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นเรื่องถูกกฎหมายในหลายประเทศทั่วโลก ผู้คนจำนวนไม่น้อยเปลี่ยนความคิดไปจากเดิม และหนึ่งในนั้นคือ ริชาร์ด พอสเนอร์ เจ้าพ่อวิชา “นิติเศรษฐศาสตร์”

อิสร์กุล อุณหเกตุ สำรวจทัศนะของพอสเนอร์ว่าด้วยการแต่งงานเพศเดียวกัน ที่วิวัฒน์ข้ามกาลเวลา

อิสร์กุล อุณหเกตุ

26 Dec 2017

Law

13 Dec 2017

การเมืองไทยในสถานการณ์ “ซากศพปกครองคนเป็น”

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ตั้งคำถาม รัฐธรรมนูญควรถูกเขียนขึ้นใหม่ในแต่ละยุคสมัยหรือไม่ ทำอย่างไรให้ประเทศไทยไม่เดินหน้าเข้าสู่ยุคสมัย “ซากศพปกครองคนเป็น”

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Dec 2017

Law

4 Dec 2017

ปฏิรูปการปล่อยชั่วคราวเพื่อความเสมอภาค

ท่ามกลางกระแสเรียกร้อง “ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน” 101 ชวน ปกป้อง ศรีสนิท คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์ เขียนเล่าเรื่องการปฏิรูปการปล่อยชั่วคราว ทั้งในเชิงสถานการณ์ หลักกฎหมาย ทางปฏิบัติ บทเรียนจากต่างประเทศ และแนวทางปฏิรูปเพื่อสร้างความเสมอภาคในไทย

ปกป้อง ศรีสนิท

4 Dec 2017

Law

11 Oct 2017

“ความสำเร็จที่ล้มเหลว” ของปรีดี เกษมทรัพย์ (ที่คณะนิติศาสตร์ ธรรมศาสตร์)

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ทบทวนคุณูปการของ ‘ปรีดี เกษมทรัพย์’ ที่มีต่อการบุกเบิกการเรียนการสอนนิติปรัชญาที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และตั้งคำถามถึง ‘ความหยุดนิ่ง’ ของสถานะความรู้ทางนิติปรัชญาของสถาบันทางกฎหมายแห่งนี้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

11 Oct 2017

Law

13 Sep 2017

กลับไปอ่าน “ตุลาการภิวัตน์” ของธีรยุทธ บุญมี

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนกลับไปย้อนอ่านหนังสือ “ตุลาการภิวัตน์” ของธีรยุทธ บุญมี หนึ่งทศวรรษผ่านไป อะไรคือบทเรียนสำคัญของงานชิ้นนี้

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

13 Sep 2017

Law

16 Aug 2017

Blaming the Victim, Blaming the Student

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เล่าถึงหนึ่งในแนวคิดทางด้านนิติศาสตร์แนวสตรีนิยม (Feminist Legal Theory) นั่นคือ การโทษเหยื่อ หรือ “blaming the victims” แล้วใช้แนวคิดดังกล่าวในการมองปัญหาการข่มขืนและปรากฏการณ์ “มหาวิทยาลัยกลายเป็นค่ายทหาร” ในสังคมไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

16 Aug 2017

Law

14 Jun 2017

ศาลและระบอบเผด็จการ

สมชาย ปรีชาศิลปกุล เขียนถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างคณะรัฐประหารกับสถาบันตุลาการ มองบทบาทของสถาบันตุลาการภายใต้ระบอบอำนาจนิยม และทำความเข้าใจฝ่ายตุลาการในเชิงสถาบัน โดยเฉพาะในบริบทของวงวิชาการไทย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

14 Jun 2017
1 14 15 16

RECOMMENDED

Public Policy

29 Apr 2024

อ่านอนาคต เคาะโจทย์ ‘แพลตฟอร์ม’ ทำอย่างไรให้เติบโตได้ โดยไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง

101 ชวนตีโจทย์เศรษฐกิจแพลตฟอร์มในยุคที่เศรษฐกิจดิจิทัลไทยเติบโตอย่างรวดเร็ว หาคำตอบร่วมกับผู้เชี่ยวชาญว่าโอกาสของเศรษฐกิจแพลตฟอร์มเหล่านี้จะนำไปสู่โอกาสแห่งชีวิตผู้คนในสังคมได้อย่างเป็นธรรมหรือไม่และอย่างไร

กรกมล ศรีวัฒน์

29 Apr 2024

Economic Focus

24 Apr 2024

ดิจิทัลแบบใด? แกะไส้ในงบประมาณตามแผนดิจิทัล

WeVis ร่วมกับ 101PUB ชวนผู้อ่านสำรวจงบดิจิทัลปี 67 ของไทยกว่า 5,000 ล้านบาทว่าเป็นอย่างไร ? มีปัญหาอะไรที่ต้องคำนึงอีกบ้าง ?

กษิดิ์เดช คำพุช

24 Apr 2024

Thai Politics

17 Apr 2024

“เราให้เกียรติเขา เขาให้เกียรติเรา” จิรายุ ห่วงทรัพย์เปิดแนวทาง ‘พัฒนาร่วมกัน’ กับกองทัพ สไตล์เพื่อไทย

101 สนทนากับ จิรายุ ห่วงทรัพย์ โฆษกกระทรวงกลาโหม ฝ่ายการเมือง ถึงความความคืบหน้าของการปฏิรูปกองทัพในแบบฉบับพรรคเพื่อไทย

กองบรรณาธิการ

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save