fbpx

Books

12 Mar 2018

ความน่าจะอ่าน 2017

#ความน่าจะอ่าน 2017

กลับมาอีกครั้ง กับโปรเจ็กต์แนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’ เรียกน้ำย่อยด้วยบทความของ โตมร ศุขปรีชา ว่าด้วย ‘การอ่านที่เอาแต่ใจ’

โตมร ศุขปรีชา

12 Mar 2018

Interviews

12 Mar 2018

ไดโนเสาร์ติดปีก นักประดิษฐ์อนาคต : พัทน์ ภัทรนุธาพร เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์โลก

จากปัตตานีสู่ MIT Media Lab คุยกับ พัทน์ ภัทรนุธาพร หรือ พีพี นักประดิษฐ์อนาคตด้วยนวัตกรรมล้ำยุค เช่น เครื่องปรินต์อาหารสามมิติบนอวกาศ มารู้จักชีวิตและมุมมองด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และสังคมไทยของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มด้าน Biotechnology ผู้อยากเป็นไดโนเสาร์ติดปีก

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Mar 2018

Gen Why

10 Mar 2018

รักจริงแค่ไหน แค่ไหนเรียกรักจริง

คอลัมน์ #GenWhy สัปดาห์นี้ ว่ากันด้วยเรื่องความรักที่เลื่อนไหลของเหล่าคนวัยนี้ ทำไมคนถึงแต่งงานน้อยลง รักเพศเดียวกันมากขึ้น และมีความสัมพันธ์ที่เปราะบางขึ้นทุกวัน

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

10 Mar 2018

Life & Culture

9 Mar 2018

อะไรทำให้ป๋วยเป็นอมตะ ?

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนหาคำตอบว่าเพราะเหตุใด ‘ป๋วย อึ๊งภากรณ์’ จึงยังเป็น ‘บุคคลอมตะ’ ที่ส่งอิทธิพลต่ออนุชนเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ต่างจากบุคคลสำคัญหลายคนในประวัติศาสตร์ที่ ‘ตายแล้วตายเลย’

กษิดิศ อนันทนาธร

9 Mar 2018

Life & Culture

8 Mar 2018

รสมือแม่

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง เขียนถึงคุณแม่ที่จากไปและทิ้ง ‘ตำรับอาหาร’ ของครอบครัวไว้เป็นมรดก

ในฐานะลูกชายคนโต และลูกมือของแม่ เขาบอกว่า ‘รสมือแม่’ ยังคงฝังอยู่ในมือและลิ้นของเขาเสมอ

คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

8 Mar 2018

Interviews

8 Mar 2018

จากเพศที่หนึ่ง ถึงเพศบรรพชิต : ลอกคราบ ‘มะลิลา’ กับ อนุชา บุญยวรรธนะ

เปลือยความคิด นุชี่-อนุชา บุญยวรรธนะ ว่าด้วยเรื่องเพศและศาสนาที่ประกอบสร้างเป็น ‘มะลิลา’ ภาพยนตร์สุดละเมียดที่กวาดรางวัลมานับถ้วน

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2018

Lifestyle

8 Mar 2018

Subscription Economy โมเดลธุรกิจ (ไม่) ใหม่ – ที่กำลังจะแมส (ถ้ามันไม่แมสไปแล้ว)

โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง ‘Subscription Economy’ หรือธุรกิจที่ให้บริการโดยยึดฐานของ ‘การสมัครสมาชิก’ เป็นหลัก ซึ่งมองเผินๆ คล้ายจะเป็นเทรนด์ของสื่อยุคเก่า แต่ความจริงแล้วมันคือเทรนด์ใหม่ที่เข้ามาเปลี่ยน ‘ภูมิทัศน์สื่อ’ ไปโดยสิ้นเชิง

โตมร ศุขปรีชา

8 Mar 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก

8 Mar 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (5) : ผู้หญิงข้าใครอย่าแตะ

“หลักประกันสุขภาพที่รัก” ตอนที่ 5 นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าเรื่องเจ้าแม่นางแก้ว การบีบแตร และ ‘สงคราม’ ในคณะกรรมการควบคุมคุณภาพและมาตรฐานของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

8 Mar 2018

1+1

7 Mar 2018

1+1 by Eyedropper Fill (3) : เธรามิน + ไหซองจากวงโปงลาง

คอลัมน์ 1+1 by Eyedropper Fill เล่าเส้นทางสร้างสรรค์งานออกแบบ ‘เสียง‘ ที่คงคอนเซ็ปต์ ‘ไสยศาสตร์-ขนหัวลุก’ ผ่าน เครื่องดนตรีอย่างเธรามิน + ไหซอง

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

7 Mar 2018

DEEP FOCUS

7 Mar 2018

ชะโงกดูเงา Black Mirror

‘นรา’ ชวนดู Black Mirror ซีรีส์จินตนาการจัดจ้านว่าด้วยเรื่องความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีแห่งอนาคต และผลกระทบต่อพฤติกรรมต่างๆ นานาทั้งด้านดีด้านร้ายของมนุษย์ ด้วยเนื้อเรื่องแบบ Sci-Fi มีกลิ่นอายวิทยาศาสตร์เต็มตัว ตีแผ่ความเป็นมนุษย์ยุคดิจิทัลได้อย่างเฉียบคมและแสบสันต์ นี่คือหนึ่งในซีรีส์ที่พลาดไม่ได้

นรา

7 Mar 2018

TREND RIDER

1 Mar 2018

วัดความสัมพันธ์เป็นตัวเลข : ทำไมเราควรทำงานใกล้ชิดกัน

รู้จัก Sociometry การสำรวจตรวจสอบความสัมพันธ์และวิวัฒนาการของคนกลุ่มต่างๆ แล้วดูว่าปัจเจกที่อยู่ในกลุ่มนั้นๆ มีที่ทางอย่างไรในกลุ่ม ตั้งแต่กลุ่มคนในครอบครัว กลุ่มเพื่อน กลุ่มคนร่วมบริษัทเดียวกัน จนถึงคำถามที่ว่า ‘ความใกล้ชิด’ สำคัญแค่ไหนต่อประสิทธิภาพการทำงาน

โตมร ศุขปรีชา

1 Mar 2018

Interviews

1 Mar 2018

ทางพ้นทุกข์จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) ภัยร้ายเบอร์ 1 ของคนไทย – นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ 

ภัทชา ด้วงกลัด คุยกับ ผศ.นพ.สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ หัวหน้าสาขาวิชาโรคหัวใจและหลอดเลือด คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อหาทางพ้นทุกข์จากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เอ็นซีดี) ภัยร้ายอันดับหนึ่งของคนไทย

ภัทชา ด้วงกลัด

1 Mar 2018

Lifestyle

28 Feb 2018

สมรภูมิสุดท้าย โอกินาว่า

ธีรภัทร เจริญสุข พาเลาะเข้าไปในอดีตของ ‘โอกินาว่า’ ดินแดนสวรรค์ทะเลใต้ที่มีความสวยงามของหาดทรายและชายทะเล มีวัฒนธรรมที่ผสมระหว่างอารยธรรมริวกิวพื้นเมืองและความเป็นญี่ปุ่นทันสมัย แต่อีกด้านหนึ่ง โอกินาว่าก็เป็นเกาะที่มีประวัติศาสตร์โชกชุ่มไปด้วยเลือด การกดขี่ข่มเหง และความขัดแย้งระหว่างผู้เข้ามายึดครอง และผู้ถูกปกครอง เป็นบาดแผลปรากฏอยู่ตามสถานที่ต่างๆ และยังส่งผลความขัดแย้งนั้นมาถึงปัจจุบัน

ธีรภัทร เจริญสุข

28 Feb 2018
1 153 154 155 176

MOST READ

Phenomenon

2 May 2024

พ่อแม่แบบไหนเสียใจที่มีลูก

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาคิดเรื่อง ‘ความเสียใจที่มีลูก’ ชวนมองย้อนไปถึงแรงกดดันจากสังคมซึ่งสัมพันธ์กับค่านิยมเรื่องสถาบันครอบครัว

โตมร ศุขปรีชา

2 May 2024

Life & Culture

22 Apr 2024

‘หลานม่า’ มูลค่าแห่งความห่วงหาอาทร

ในความรักและเอาใจช่วย ‘หลานม่า’ (2024) หนังยาวของ พัฒน์ บุญนิธิพัฒน์ มากแค่ไหน แต่นักวิจารณ์ภาพยนตร์อย่าง ‘กัลปพฤกษ์’ ก็ยังอยากท้วงติงถึงความไม่สมบูรณ์บางอย่างของหนังอยู่ดี ไม่ว่าจะจากบทหรือการแสดงก็ตาม

‘กัลปพฤกษ์’

22 Apr 2024

Life & Culture

18 Apr 2024

หลานม่า : ต้นไม้ เพดาน บ้าน ฮวงซุ้ย

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของครอบครัวคนไทยเชื้อสายจีนใน ‘หลานม่า’ (2024) หนังที่ว่าด้วยหลานชายที่ต้องไปดูแลอาม่าผู้ป่วยเป็นมะเร็ง สิ่งที่ซุกซ่อนอยู่ใต้เส้นเรื่องที่ดูเหมือนจะคาดเดาได้ คือลำดับขั้นของความสัมพันธ์และบาดแผลที่ส่งต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น

วิวัฒน์ เลิศวิวัฒน์วงศา

18 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save