Political Economy
Political Economy
Filter
Sort
จากข้อเรียกร้องของแรงงาน สู่รัฐสวัสดิการเพื่อทุกคน กับ ‘ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี’
101 สนทนากับ รศ.ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี อาจารย์ประจำวิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่าด้วยการต่อสู้เรื่องสวัสดิการแรงงาน ผลกระทบของระบบทุนนิยมต่อชีวิตผู้คน และเส้นทางสู่ ‘รัฐสวัสดิการ’ ในวันที่ ‘ข้าวของแพง-ค่าแรงถูก’


กรกมล ศรีวัฒน์
13 May 2022The Origin of Wealth
สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน The Origin of Wealth ของ Eric Beinhocker หนังสือที่นำเสนอ “เศรษฐศาสตร์เชิงซับซ้อน” ที่สังเคราะห์จากองค์ความรู้หลายศาสตร์ มาแทนที่ “เศรษฐศาสตร์ดั้งเดิม” ที่ล้มเหลวในการอธิบายโลกแห่งความจริง


สฤณี อาชวานันทกุล
28 Aug 2017ประเทศไทยมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร: การตีความ 4 แบบ
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เล่าวิธีการตีความเส้นทางเศรษฐกิจการเมืองไทย 4 แนวทาง อะไรเป็นจุดแข็งที่พาเราก้าวจากประเทศยากจนมาสู่ประเทศรายได้ปานกลาง อะไรเป็นจุดตายที่ทำให้ไทยไม่ไปไกลกว่านี้ แล้วทางออกของปัญหาอยู่ตรงไหน


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
21 Aug 2017นายทุนไทยในการเมือง: ผู้สนับสนุนประชาธิปไตยแบบมีเงื่อนไข
พลอย ธรรมาภิรานนท์ ชวนคิดเรื่องนายทุนไทยกับจุดยืนต่อระบอบประชาธิปไตย ทำไมนายทุนไทยที่เคยสนับสนุนประชาธิปไตยในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาคม 2535 กลับหันหลังให้ประชาธิปไตย มาสนับสนุนรัฐบาลทหารและขบวนการต่อต้านประชาธิปไตยในช่วงหลัง


พลอย ธรรมาภิรานนท์
4 Aug 2017Poor Economics
สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “เศรษฐศาสตร์ความจน” (Poor Economics) ของ อภิจิต แบนเนอร์จี กับ เอสเธอร์ ดูฟโล สองนักเศรษฐศาสตร์พัฒนา เพื่อลบล้างมายาคติเกี่ยวกับความจน คนจน และวิธีปราบจน


สฤณี อาชวานันทกุล
24 Jul 2017จากเสรีนิยมเก่าสู่เสรีนิยมใหม่ – รัฐไทยอยู่ตรงไหน
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามชวนคิด รัฐไทยมีความเป็นเสรีนิยมแค่ไหน ‘เก่า’ หรือ ‘ใหม่’ มากกว่ากัน?


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
17 Jul 2017เค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ในสายธารความคิดเศรษฐศาสตร์
ในวาระ 85 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 101 เริ่มต้นซีรีส์ “2475” ด้วยผลงานของ สฤณี อาชวานันทกุล ที่ชวนเรากลับไปอ่าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ของปรีดี พนมยงค์ อีกครั้ง เพื่อสืบหาข้อคิดจากเค้าโครงการเศรษฐกิจในสายธารความคิดของเศรษฐศาสตร์ยุคปัจจุบัน โดยพยายามเสนอคำตอบเบื้องต้นต่อคำถามที่ว่า เราจะบรรลุเป้าหมาย “ความสุขสมบูรณ์” ของประชาชนดังเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดีภายใต้เศรษฐกิจยุคใหม่ได้อย่างไร


สฤณี อาชวานันทกุล
20 Jun 2017The Rise and Fall of Nations
สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “The Rise and Fall of Nations” ของ Ruchir Sharma แห่ง Morgan Stanley Investment Management ค้นหาคำตอบกันว่า กฎจำง่าย 10 ข้อ เพื่อประเมินแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศในยุค 4Ds มีอะไรบ้าง


สฤณี อาชวานันทกุล
22 May 2017ข้ามพ้น ‘คนดี’ เสียทีดีไหม
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนคิดเรื่องสำคัญในการศึกษาสังคมศาสตร์ ว่าเราจะสามารถทำความเข้าใจประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ต่างๆ ในโลกได้ดีที่สุดด้วย “หน่วย” (unit of analysis) อะไร
หน่วยมองโลกแบบ “ปัจเจกนิยม” ที่คล้ายเป็น default mode ของสังคมไทย มีจุดแข็งและจุดอ่อนอย่างไร และส่งผลอย่างไรในการตีความอดีต การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน และการออกแบบอนาคต
เรามาข้ามพ้น “คนดี” เสียทีดีไหม?


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
15 May 2017Global Inequality
สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด
ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน


สฤณี อาชวานันทกุล
24 Apr 2017ทำไมบอลพรีเมียร์ลีกสนุก แต่ทีมชาติอังกฤษล้มเหลว: มองโมเดลทุนนิยมผ่านโลกฟุตบอล
วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนดูฟุตบอล แล้วย้อนดูทุนนิยม วิถีฟุตบอลอังกฤษและเยอรมนีสอนเราเรื่องทางเลือกและความหลากหลายของระบบทุนนิยมอย่างไร หาคำตอบได้จากข้อเขียนอ่านสนุกชิ้นนี้


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
17 Apr 2017เศรษฐกิจดิจิทัล กฎหมาย กสทช. ใหม่ และอนาคตคลื่นความถี่ไทย : 5 คำถามหลักที่ต้องการคำตอบ
กฎหมาย กสทช. ฉบับใหม่ เพิ่งผ่านสภานิติบัญญัติแห่งชาติสดๆ ร้อนๆ ภัทชา ด้วงกลัด พาไปสำรวจ 5 คำถามหลักที่สังคมไทยควรช่วยกันถาม ว่าด้วยเรื่องเศรษฐกิจดิจิทัล กสทช. ชุดใหม่ และการจัดสรรคลื่นความถี่ในอนาคต


ภัทชา ด้วงกลัด
31 Mar 2017Concrete Economics
101 ชวน สฤณี อาชวานันทกุล มาเล่าถึงแก่นเนื้อหาของหนังสือน่าอ่านด้านเศรษฐกิจและธุรกิจสมัยใหม่ ประเดิมตอนแรกด้วยหนังสือ Concrete Economics ของ Stephen Cohen และ J. Bradford DeLong


สฤณี อาชวานันทกุล
27 Mar 2017ตื่นตัวทางการเมือง แสนเชื่องเรื่องเศรษฐกิจ?
เรื่องเศรษฐกิจมีผลต่อประชาชนทุกคน แต่ทำไมมักถูกทอดทิ้งให้อยู่ในมือของ “ผู้เชี่ยวชาญ” ถ้าเช่นนั้น เราจะทำอย่างไรให้ active citizen กลายเป็น active economic citizen ไปด้วย


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
20 Mar 2017ประเทศ “กำลังพัฒนา” ต้องพัฒนาไปถึงเมื่อไหร่
ที่เรียกกันว่า “ประเทศกำลังพัฒนา” หมายถึงต้องพัฒนาอะไร พัฒนาไปถึงไหน จึงจะได้ชื่อว่าเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” และ “การพัฒนาเศรษฐกิจ” เป็นเรื่องเดียวกับ “การเติบโตทางเศรษฐกิจ” หรือไม่ ฮาจุน ชาง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองแห่งมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์มีคำตอบ


วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร
15 Mar 2017ไทยเป็นประเทศ “โลกที่สาม” – แล้วโลกที่หนึ่งกับสองอยู่ตรงไหน
เราได้ยินคำว่า “ประเทศโลกที่สาม” กันบ่อยๆ แล้วเคยสงสัยบ้างหรือไม่ว่า “ประเทศโลกที่หนึ่ง” และ “ประเทศโลกที่สอง” อยู่ตรงไหน? ประเทศไทยจะข้ามผ่านจากประเทศโลกที่สามเป็นประเทศโลกที่หนึ่ง ต้องผ่านประเทศโลกที่สองก่อนหรือไม่?

