fbpx

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

World

30 Nov 2023

‘หยุดยิง’ คือหนทางที่พาเรากลับออกจากนรก

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์ทางออกของสงครามฮามาส-อิสราเอลว่าคือการหยุดยิงและเจรจา แต่จุดสำคัญคือทำอย่างไรที่ทั้งสองฝ่ายจะเข้าสู่การเจรจาได้สำเร็จ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

30 Nov 2023

World

28 Nov 2023

รัฐธรรมนูญวิกฤตที่อิสราเอล

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง ชวนมองวิกฤตรัฐธรรมนูญในอิสราเอลก่อนการโจมตีของฮามาส เมื่อรัฐบาลเนทันยาฮูเจอการต่อต้านครั้งใหญ่จากประชาชนหลังพยายามปฏิรูปตุลาการ

เข็มทอง ต้นสกุลรุ่งเรือง

28 Nov 2023

Asean

13 Nov 2023

“หนุนปาเลสไตน์” จุดยืนที่ไม่เปลี่ยนแปลงของมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง เล่าเหตุผลว่าทำไมรัฐบาลมาเลเซียถึงแสดงจุดยืนสนับสนุนปาเลสไตน์ อย่างแข็งขันและไม่เคยเปลี่ยนแปลง

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

13 Nov 2023

Latin America

13 Nov 2023

ปฏิกิริยาของประเทศในลาตินอเมริกาต่อสงครามระหว่างกลุ่มฮามาสกับอิสราเอล

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ชวนมองปฏิกริยาของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกาที่มีต่อสงครามระหว่างกลุ่มฮามาสในปาเลสไตน์กับอิสราเอล

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

13 Nov 2023

Europe

30 Oct 2023

เมื่อตำรวจอังกฤษไม่จับผู้ชุมนุมที่ตะโกน ‘จีฮัด’ และบีบีซีไม่เรียกฮามาสว่า ‘กลุ่มก่อการร้าย’

สมชัย สุวรรณบรรณ เขียนถึงความเป็นมืออาชีพของตำรวจอังกฤษและบีบีซีต่อเหตุการณ์ความรุนแรงในฉนวนกาซา ท่ามกลางข้อขัดแย้งที่กดดันให้คนต้องเลือกข้าง

สมชัย สุวรรณบรรณ

30 Oct 2023

ASEAN บ่มีไกด์

25 Oct 2023

ASEAN บ่มีไกด์ Ep.25: ‘อิสราเอล-ปาเลสไตน์’ – กระแสเกลียดยิว ถึงยิวแห่งบูรพาทิศ ในอาเซียน

ชวยคุยถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของกระแสต่อต้านยิวและยิวแห่งบูรพาทิศในชาติอาเซียน นับตั้งแต่ยุคอาณานิคม จนถึงยุคแห่งความขัดแย้งระหว่างอิสราเอล-ปาเลสไตน์ในปัจจุบัน

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

25 Oct 2023

World

16 Oct 2023

ฉากทัศน์ต่อไปของอิสราเอล-ปาเลสไตน์ ความขัดแย้งที่สั่นสะเทือนระเบียบโลกใหม่: ศราวุฒิ อารีย์

7 ตุลาคม กลุ่มฮามาสเปิดฉากขีปนาวุธกว่า 5,000 ลูกใส่อิสราเอล จุดชนวนความขัดแย้งซึ่งเดิมทีก็ไม่เคยดับหายไปอยู่แล้วให้ปะทุกว่าที่เคย จนอาจนับได้ว่านี่เป็นการต่อสู้ระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ที่รุนแรงที่สุดในรอบทศวรรษ

จนถึงนาทีนี้ การสู้รบระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ยังดำเนินต่อไปโดยปราศจากทีท่าของความสงบหรือยุติลง 101 สนทนากับ ดร.ศราวุฒิ อารีย์ ผู้อำนวยการศูนย์มุสลิมศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถึงเงื่อนไขและตัวแปรของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น, ความสัมพันธ์ระหว่างอิสราเอลและรัฐอาหรับ, อนาคตของปาเลสไตน์ ตลอดจนระเบียบโลกใหม่ที่ก่อตัวขึ้นมาหลังยุคสงครามเย็น

พิมพ์ชนก พุกสุข

16 Oct 2023

Asia

12 Oct 2023

เฮบบรอนกับสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเหมือนที่แตกต่าง

ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ เล่าเรื่องจากการไปเที่ยวเมืองเฮบบรอน ในอิสราเอล ที่ทำให้เห็นภาพความขัดแย้งในพื้นที่ และเทียบเคียงได้กับกรณีสามจังหวัดภาคใต้

ดวงยิหวา อุตรสินธุ์

12 Oct 2023

Asia

12 Oct 2023

ชีวิตแรงงานไทยเปราะบางอย่างยิ่งต่อสงคราม: คุยกับ Yahel Kurlander ผู้ศึกษาชีวิตแรงงานไทยในอิสราเอล

101 คุยกับ Yahel Kurlander ผู้ศึกษาชีวิตแรงงานไทยในอิสราเอล ถึงความเปราะบางของชีวิตของแรงงานไทยทั้งในภาวะปกติและในช่วงสงคราม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

12 Oct 2023

Political Economy

17 Feb 2021

Low Profile, High Impact : สูตรลับสร้างรัฐนวัตกรรม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร พาไปมองความสำเร็จของฟินแลนด์และอิสราเอลในการสร้างรัฐนวัตกรรม ซึ่งมีปัจจัยสำคัญคือการออกแบบเชิงสถาบันให้ ‘องค์กรรัฐนวัตกรรม’ มีอิสระในการลองผิดลองถูก

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Feb 2021

Trends

4 Sep 2020

ประชาชนลุกฮือระลอกใหม่?: เทียบการประท้วงในไทย เบลารุส และอิสราเอล

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงเหตุปัจจัยของการประท้วงใหญ่ในเบลารุส อิสราเอล และไทย ที่คล้ายกันทั้งในมิติของการมีผู้นำอำนาจนิยม การรับมือต่อวิกฤตโควิด-19 รวมทั้งองค์ประกอบและยุทธศาสตร์ของขบวนการภาคประชาชน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

4 Sep 2020

Life & Culture

24 Dec 2018

ตามรอยพระเยซูในเดือนคริสตสมภพ 

ธีรภัทร เจริญสุข ต้อนรับเทศกาลคริสต์มาสด้วยการพาไปเยือนอิสระเอลและเวสต์แบงค์ ตามรอยพระเยซูคริสต์ ตลอดจนศาสนสถานสำคัญต่างๆ สอดแทรกด้วยเกร็ดประวัติศาสตร์และเรื่องเล่าจากพระคัมภีร์

ธีรภัทร เจริญสุข

24 Dec 2018

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save