fbpx

Politics

5 Apr 2024

การอารยะขัดขืนของเนติวิทย์กับกรณีต้านเกณฑ์ทหาร

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ เขียนถึงเหตุการณ์เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล อ่านแถลงการณ์ต่อต้านการบังคับเกณฑ์ทหาร เทียบกับหลักสันติวิธี

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์

5 Apr 2024

Social Movement

29 Nov 2023

นักสันติวิธีท้าทายและทำให้ความรุนแรงเป็นเรื่องไร้เหตุผลได้อย่างไร

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง ชวนมองเหตุผลที่ใช้สร้างความชอบธรรมให้การใช้ความรุนแรงผ่านสายตาของนักสันติวิธี ในหนังสือ Can Political Violence Ever Be Justified?

อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง

29 Nov 2023

Politics

25 Oct 2023

‘สันติวิธี = ประท้วงอย่างถูกกฎหมายเท่านั้น?’ ความเข้าใจ(ผิด?)ของคนเมืองหลวง

101 ชวนอ่านสรุปรายงานศึกษาความเข้าใจเกี่ยวกับ ‘สันติวิธี’ ของประชาชนในกรุงเทพมหานคร จำนวนทั้งสิ้น 500 คน ว่าพวกเขาเข้าใจอย่างไร

กองบรรณาธิการ

25 Oct 2023

World

31 Aug 2023

60 ปีแห่งความฝันของคนผิวดำ: ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ที่มีความหมาย

ปาฐกถาของ ดร.คิง ผ่านมาครบ 60 ปี ธเนศ อาภรณ์สุวรรณจึงชวนมองประวัติศาสตร์การต่อสู้ของคนผิวดำในอเมริกา เมื่อเหตุการณ์ช่วงนั้นกลายเป็นหนึ่งใน ‘ประวัติศาสตร์แสนสั้น’ ท่ามกลางการต่อสู้ที่ทอดยาวมาถึงปัจจุบัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

31 Aug 2023

Politics

17 Jul 2023

ทำความเข้าใจ #ธุรกิจสว และ #เมียน้อยสว ผ่านมุมมองปฏิบัติการไร้ความรุนแรง

ชวนทำความเข้าใจว่าแคมเปญ #ธุรกิจสว และ #เมียน้อยสว ถือเป็นความรุนแรงหรือไม่ และเส้นแบ่งระหว่างความรุนแรงและการไม่ใช้ความรุนแรงในเรื่องนี้อยู่ตรงไหนแน่ ผ่านแนวคิดปฏิบัติการไร้ความรุนแรง (nonviolent action)

ชญานิษฐ์ พูลยรัตน์

17 Jul 2023

Politics

28 Dec 2021

มองการเมือง 2021 : ถึงเวลาพูดเรื่อง ‘ช้างในห้อง’

101 ชวนมองภาพการเมืองในปีที่ผ่านมา เมื่อการชุมนุมจากปีก่อนหน้าส่งผลให้สังคมจำเป็นต้องพูดคุยกันถึงปัญหาใหญ่ที่ผู้มีอำนาจหลีกเลี่ยงเสมอมา อย่างประเด็นปฏิรูปสถาบันกษัตริย์ ปฏิรูปกองทัพ จนถึงการให้นิยามสันติวิธีและความรุนแรง

วจนา วรรลยางกูร

28 Dec 2021

Politics

12 Sep 2021

อย่าประเมินสันติวิธีบวกเกินไป อย่าประเมินความรุนแรงลบเกินไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องวิธีการมองสันติวิธีในไทย และปัจจัยที่จะทำให้การเคลื่อนไหวแบบไม่ใช้ความรุนแรงมีความหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Sep 2021

Media

9 Sep 2021

101 In Focus Ep.96 : ทบทวนนิยามสันติวิธี ผ่านม็อบทะลุแก๊ส

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุยกันเรื่องนิยามสันติวิธี – แบบไหนคือสันติ แบบไหนคือความรุนแรง เราควรทำความเข้าใจปรากฏการณ์ม็อบทะลุแก๊สอย่างไร และขอบเขตของการใช้สันติวิธีเพื่อต่อสู้กับอำนาจรัฐ แท้จริงแล้วอยู่ที่ตรงไหน 

กองบรรณาธิการ

9 Sep 2021

Interviews

7 Sep 2021

สังคมที่เต็มไปด้วยการกดทับ ผลลัพธ์คือความเดือดดาล – คุยกับ ‘ทะลุแก๊ซ’

101 คุยกับ แอดมินเพจ ‘ทะลุแก๊ซ – Thalugaz’ เปลือยใจถึงแรงผลักดันที่ทำให้พวกเขาเลือกออกมาแสดงจุดยืนในทุกค่ำคืนทั้งๆ ที่ต้องเสี่ยงเจ็บตัวและโดนจับกุม ภายใต้ม่านควันแก๊สน้ำตาและคราบเขม่าพลุไฟ อะไรคือเป้าหมายของการออกมาต่อสู้ในครั้งนี้

ภาวิณี คงฤทธิ์

7 Sep 2021

Politics

2 Sep 2021

“ความวุ่นวายไม่ได้ทำให้สังคมล่มสลาย” ทบทวนนิยามสันติวิธี กับ ภัควดี วีระภาสพงษ์

101 คุยกับ ภัควดี วีระภาสพงษ์ มองภาพสันติวิธีในประเทศไทยผ่านการปะทะที่ดินแดง กลุ่มทะลุแก๊ส และการเคลื่อนไหวขบวนการประชาธิปไตยโดยรวม

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

2 Sep 2021

Thai Politics

31 Aug 2021

อำนาจรัฐ ความรุนแรง บนความเคลื่อนไหวของม็อบประชาชน กับ เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว

101 ชวนเบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว อาจารย์ประจำสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล มาคุยว่าด้วยประเด็น ขอบเขตของการใช้สันติวิธีเพื่อต่อสู้กับอำนาจรัฐ และการมองการปราบปรามผู้ชุมนุมผ่านแว่นตาสิทธิมนุษยชน

กองบรรณาธิการ

31 Aug 2021

Media

27 Aug 2021

101 One-on-One Ep.237 อำนาจรัฐ ความรุนแรง บนความเคลื่อนไหวของม็อบประชาชน กับ เบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว

101 ชวนเบญจรัตน์ แซ่ฉั่ว อาจารย์ประจำสถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล มาคุยว่าด้วยประเด็น ขอบเขตของการใช้สันติวิธีเพื่อต่อสู้กับอำนาจรัฐ และการมองการปราบปรามผู้ชุมนุมผ่านแว่นตาสิทธิมนุษยชน

101 One-on-One

27 Aug 2021

Media

25 Mar 2021

101 In Focus Ep.73 : ความรุนแรงและก้าวต่อไปการชุมนุม

101 In Focus ชวนย้อนอ่านเรื่องสันติวิธีกับการประท้วง การสร้างสันติภาพในสังคม ก้าวต่อไปของม็อบที่ต้องสร้างแนวร่วม และทางออกจากความขัดแย้งในสังคมไทย

กองบรรณาธิการ

25 Mar 2021

Democracy

1 Dec 2020

ปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรง : บทเรียนจากไทยสู่โลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ ถอดบทเรียนจากขบวนการเคลื่อนไหวในไทย ที่การผลักเพดานปฏิรูปสถาบันกษัตริย์นำไปสู่การตั้งคำถามต่อองค์ความรู้กระแสหลักของ ‘ปฏิบัติการไม่ใช้ความรุนแรง’ รวมทั้ง ‘ยุทธศาสตร์ขยายแนวร่วม’ ที่ขบวนการประชาธิปไตยในอดีตทั่วโลกเคยใช้ แต่ล้วนกลับนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ไม่ยั่งยืน

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

1 Dec 2020

Democracy

25 Nov 2020

เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช : สู่ทางออกจากความขัดแย้ง สังคมต้องเผชิญความจริง

101 คุยกับ เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช ถึงทางออกจากความขัดแย้งในสังคมไทยและแนวทางสันติวิธีของผู้ประท้วง

วจนา วรรลยางกูร

25 Nov 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save