fbpx

Public Policy

24 Nov 2023

ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่: ทบทวนความมั่นคงของไทยในโลกไร้ระเบียบ

101 ชวนทบทวนและหานิยามของ ‘ความมั่นคง’ ในโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและผันผวนว่าความมั่นคงของไทยควรมีหน้าตาแบบใด ร่วมเสนอยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงที่จะนำไปสู่การป้องกันภัยคุกคามจากทั้งภายนอกและภายใน ผ่านวงสนทนาจากผู้เชี่ยวชาญหลากวงการ เก็บความจากงานเสวนา Research and Policy Dialogue: ตั้งโจทย์+ตอบอนาคต ประเทศไทยในบริบทโลกใหม่ #3 “ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่”

เจียระไน ซองทอง

24 Nov 2023

Media

16 Oct 2023

Research and Policy Dialogue: ตั้งโจทย์+ตอบอนาคต ประเทศไทยในบริบทโลกใหม่ #3 “ความ(ไม่)มั่นคงในโลกใหม่”

ทบทวนและหานิยามใหม่ของ ‘ความมั่นคง’ ที่สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของโลก เพื่อหาคำตอบว่า อะไรคือความมั่นคงและความเสี่ยงของไทยในบริบทโลกใหม่ และเราควรมียุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงอย่างไรที่จะนำไปสู่การป้องกันภัยคุกคาม จัดการความเสี่ยง และเก็บเกี่ยวโอกาสแห่งอนาคต

กองบรรณาธิการ

16 Oct 2023

Delegation of the European Union to Thailand x 101

13 Sep 2023

ยิ่งเปลี่ยน ยิ่งเหมือนเดิม ? : ความท้าทายและทิศทางการต่างประเทศไทยในรัฐบาลใหม่

101 ชวนย้อนมองการต่างประเทศไทยตลอด 9 ปีที่ผ่านมาภายใต้รัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ประเมินความท้าทายที่ไทยกำลังเผชิญ และฟังข้อเสนอจากผู้เชี่ยวชาญถึงทิศทางการต่างประเทศภายใต้รัฐบาลใหม่ที่นำโดยพรรคเพื่อไทย โจทย์อะไรบ้างที่รัฐบาลต้องนำไปขบคิด

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

13 Sep 2023

World

27 Feb 2023

1 ปีที่ยังไม่สิ้นสุดของสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

สงครามดำเนินไปอย่างไรบ้างในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา? สงครามที่แปรเปลี่ยนไปเป็น ‘สงครามพร่ากำลัง’ จะยืดเยื้อต่อไปอีกนานแค่ไหน? ฉากทัศน์ต่อไปของสงครามคืออะไร? สงครามเปลี่ยนดุลอำนาจและสั่นสะเทือนระเบียบโลกไปอย่างไรบ้าง? 101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

27 Feb 2023

101 One-on-One

15 Feb 2023

101 One-on-One Ep.291 ระเบียบโลกหลัง 1 ปีสงครามรัสเซีย-ยูเครน กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มอง 1 ปีที่ผ่านมาของสงครามรัสเซีย-ยูเครน พร้อมมองทิศทางการเปลี่ยนแปลงของระเบียบโลกนับจากนี้

101 One-on-One

15 Feb 2023

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

World

19 Jan 2022

World 2022 and Beyond: ‘แผนที่ใหม่’ ของเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกสองขั้วอำนาจ

ในวันที่โลกกำลังก้าวสู่จุดเปลี่ยนอีกครั้งในปี 2022 จิตติภัทร พูนขำ ฉายภาพความเปลี่ยนแปลงของ ‘แผนที่ใหม่’ ในเกมการเมืองโลกบนระเบียบโลกที่กำลังหวนคืนสู่ระบบสองขั้วอำนาจอีกครั้งและกำลังขยับขยายปริมณฑลการขับเคี่ยวไปสู่สนามเทคโนโลยี และสนามระบบคุณค่า มองความท้าทายจาก ‘การเปลี่ยนผ่านครั้งใหญ่’ ในมิติเชิงอำนาจ โลกทัศน์ โรคระบาด และพลังงานที่โลกจะต้องเผชิญ พร้อมทั้งมองยุทธศาสตร์การต่างประเทศของไทยท่ามกลางกระแสลมแห่งการเปลี่ยนผ่าน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

19 Jan 2022

World

21 Dec 2021

From Syria to Belarus วิกฤตผู้อพยพลี้ภัยซ้ำสอง ใจกลางการเมืองโลก

ทำไมเบลารุสจึงกลายเป็นเส้นทางอพยพสู่สหภาพยุโรป? นี่คือการใช้ผู้อพยพเล่นการเมืองในเกมต่อรองของเบลารุสต่อสหภาพยุโรปหรือไม่? ทำไมเบลารุสต้องเดินเกมการเมืองเช่นนี้? สหภาพยุโรปมีท่าทีอย่างไร? การเมืองยุโรป-รัสเซียเปลี่ยนไปแค่ไหน? แล้วผู้อพยพอยู่ตรงไหนของวิกฤต? ร่วมถอดรหัส ‘วิกฤตผู้อพยพเบลารุส’ ผ่านทัศนะของ ณัฐนันท์ คุณมาศ, จิตติภัทร พูนขำ และภาณุภัทร จิตเที่ยง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

21 Dec 2021

Thailand: The Great Reset

21 Jul 2021

“รัฐใดสามารถผูกขาดเทคโนโลยีได้ รัฐนั้นสามารถปกครองโลกได้” มองภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่ กับ จิตติภัทร พูนขำ

101 ชวน จิตติภัทร พูนขำ มองภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่ ทั้งโจทย์โลกสองขั้วอำนาจ บทบาทของเทคโนโลยี และการต่างประเทศของไทยในห้วงความเปลี่ยนแปลง

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

21 Jul 2021

Media

22 Jun 2021

101 (mid)night round: “ไทยในภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่”

การเมือง เศรษฐกิจ ระเบียบโลก และการระหว่างประเทศ เปลี่ยนไปอย่างไรในโลกใหม่หลังโควิด ไทยอยู่ตรงไหนและควรอยู่อย่างไรในภูมิศาสตร์การเมืองโลกใหม่

กองบรรณาธิการ

22 Jun 2021

Media

4 Jul 2020

101 In Focus Ep.46 : IR ต้องรอด!

101 In Focus สัปดาห์นี้ชวนคุณผู้ฟังสำรวจทางรอดของศาสตร์และการเรียนการสอนสาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศผ่านบทสัมภาษณ์ ผศ.ดร.จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กองบรรณาธิการ

4 Jul 2020

Spotlights

30 Jun 2020

“ไม่มี Theory of Everything ในโลกของ IR” จิตติภัทร พูนขำ

101 สนทนากับ จิตติภัทร พูนขำ เกี่ยวกับองค์ความรู้และโลกของ IR ไปจนถึงการเรียนการสอน และการปรับตัวของ IR ในยุคที่โลกผันผวนและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

30 Jun 2020

Global Affairs

26 May 2020

New Normal, Old Normal หรือ New Abnormal? การเมืองโลกบนขอบเหวของความปกติวิถีใหม่

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึง ‘New Normal’ ที่ดูจะกลายเป็น ‘แฟชั่น’ ใหม่ของการเมืองโลกยุค COVID-19 รวมถึงชี้ให้เห็นประเด็นปัญหาใหม่อย่างน้อย 4 ประการสำคัญที่ตามมาจากยุคสมัยแห่ง New Normal

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2020

Global Affairs

23 Apr 2020

Who’s WHO? การเมืองระหว่างประเทศขององค์การอนามัยโลกในห้วงยาม COVID-19

จิตติภัทร พูนขำ เขียนถึงที่มา พัฒนาการ และข้อจำกัดเชิงโครงสร้างของระบบสุขอนามัยระหว่างประเทศ รวมถึงวิเคราะห์บทบาทขององค์การอนามัยโลก (WHO) ในการรับมือกับวิกฤตโรคระบาดต่างๆ ตั้งแต่วิกฤตโรค SARS ในปี 2003 จนกระทั่ง COVID-19 ในปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ

23 Apr 2020

Global Affairs

1 Apr 2020

จับชีพจรภูมิรัฐศาสตร์โลกหลัง COVID-19 กับ จิตติภัทร พูนขำ

ปกป้อง จันวิทย์ ชวน จิตติภัทร พูนขำ ตั้งคำถามเช็คสุขภาพระเบียบการเมืองโลกหลัง COVID-19 ตลอดจนตัวละครสำคัญในเวทีระหว่างประเทศ ตั้งแต่สหรัฐฯ จีน สหภาพยุโรป และสหราชอาณาจักร

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Apr 2020
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save