fbpx

World

29 Jun 2018

ผิดที่ไว้ใจ? รัสเซียกับสหภาพยุโรปในภูมิรัฐศาสตร์แห่งความหวาดระแวง

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสหภาพยุโรปกับรัสเซียเพื่อหาคำตอบว่า เหตุใดมหาอำนาจทั้งสองนี้จึงไม่อาจไว้วางใจต่อกันได้ในภูมิศาสตร์การเมืองโลกในปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ

29 Jun 2018

Global Affairs

2 Jun 2018

รัสเซีย : มหาอำนาจเอเชียแปซิฟิก?

อัตลักษณ์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์แห่งชาติ ผลประโยชน์แห่งชาติ จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ทำไมรัสเซียไม่สามารถปักหมุดในเอเชียได้

จิตติภัทร พูนขำ

2 Jun 2018

World

30 Mar 2018

EU Disintegration : เมื่อ(สหภาพ)ยุโรปแตกแยก

อะไรคือปัญหาของสหภาพยุโรปในโลกเสรีนิยมใหม่ ทำไมคำอธิบายใหม่ๆ จึงจำเป็นในการเมืองโลกปัจจุบัน

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์ ‘ที่มา’ ของความแตกแยกในยุโรป และฉายภาพ ‘ที่ไป’ ของสหภาพยุโรปในอนาคต

จิตติภัทร พูนขำ

30 Mar 2018

Global Affairs

2 Feb 2018

ย้อนมอง “วิกฤตนิวเคลียร์เกาหลี” ผ่านบทเรียนประวัติศาสตร์ “วิกฤตขีปนาวุธคิวบา”

จิตติภัทร พูนขำ มองสถานการณ์วิกฤตขีปนาวุธในคาบสมุทรเกาหลีผ่านบทเรียนทางประวัติศาสตร์จากวิกฤตขีปนาวุธคิวบา ทางเลือกและทางออกของวิกฤตนิวเคลียร์ระหว่างสหรัฐอเมริกา เกาหลีเหนือ และเกาหลีใต้อยู่ตรงไหน?

จิตติภัทร พูนขำ

2 Feb 2018

Global Affairs

29 Dec 2017

การเมืองระหว่างประเทศยามผลัดปี : การสิ้นสุดของอะไร?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการเมืองระหว่างประเทศตลอดปี 2017 ที่ผ่านมา และมองไปข้างหน้าว่าเราจะได้เห็นอะไรในปี 2018

จิตติภัทร พูนขำ

29 Dec 2017

World

1 Dec 2017

รัฐประหาร ณ Luhansk : สันติภาพจากปลายกระบอกปืน สันติภาพไม่สถาพร?  

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์การรัฐประหารใน Luhansk เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2560 ในฐานะส่วนหนึ่งของความขัดแย้งแช่แข็งที่เรียกว่า “วิกฤตการณ์ยูเครนภาคตะวันออก” อำนาจจากปลายกระบอกปืนจะสร้างสันติภาพในยูเรเชียได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Dec 2017

World

27 Oct 2017

เปิดเบื้องลึกการเมืองรัสเซีย ตีแผ่วิถีแห่งอำนาจของปูติน

จิตติภัทร พูนขำ เปิดเบื้องลึกการเมืองรัสเซีย วิถีแห่งอำนาจของประธานาธิบดีปูตินเป็นอย่างไร ปูตินเดินบนวิถีผู้นำแบบไหน เครือข่ายอำนาจของเขาคือใคร มีบทบาททางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างไร และเส้นทางอำนาจของการเมืองรัสเซียในอนาคตจะเป็นอย่างไร

จิตติภัทร พูนขำ

27 Oct 2017

Global Affairs

1 Sep 2017

“กับดักธูสิดีดิส” แห่งศตวรรษที่ 21 : การเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่าง(ไร้)สันติ? 

จิตติภัทร พูนขำ วิเคราะห์หนึ่งในโจทย์สำคัญที่สุดของระเบียบโลกในศตวรรษที่ 21 – สหรัฐฯ และจีนจะก้าวข้าม “กับดักธูสิดีดิส” จนเกิดการเปลี่ยนผ่านอำนาจโลกอย่างสันติได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ

1 Sep 2017

Global Affairs

28 Jul 2017

อ่านนอกกล่อง : ทำไม E.H. Carr จึงไม่ใช่นักทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแนวสภาพจริงนิยม(แบบที่เรามักเข้าใจ)?

จิตติภัทร พูนขำ ชวนอ่าน E.H. Carr ผู้ถูกขนานนามว่าเป็นเจ้าพ่อ “สภาพจริงนิยม” ในวงวิชาการความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และผลงานคลาสสิก The Twenty Years’ Crisis, 1919-1939 ด้วยมุมมองใหม่แบบทฤษฎีวิพากษ์ แล้วคุณจะพบว่าเขาเป็นทั้ง realist, critical theorist และ historian แบบมิอาจปักป้ายจัดประเภทลงกล่องแบบสำเร็จรูปได้

จิตติภัทร พูนขำ

28 Jul 2017

World

30 Jun 2017

สหราชอาณาจักรในกระบวนการ Brexit: จากวิกฤตความชอบธรรมสู่วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจสถานการณ์ 1 ปี หลังจากสหราชอาณาจักรลงมติแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป 1 ปีผ่านไป สหราชอาณาจักรเผชิญทั้ง ‘วิกฤตความชอบธรรมของรัฐบาล’ และ ‘วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ’ อย่างหนักหน่วง กระบวนการ Brexit อีกสองปีจากนี้จะเดินหน้าอย่างไรท่ามกลางวิกฤตคู่

จิตติภัทร พูนขำ

30 Jun 2017

Global Affairs

26 May 2017

เส้นทางสายไหมใหม่: ภูมิรัฐศาสตร์มหาเกมในยูเรเชีย

“เส้นทางสายไหมใหม่” ไม่ใช่แค่เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเท่านั้น จิตติภัทร พูนขำ สวมแว่น “ภูมิรัฐศาสตร์โลก” เพื่อวิเคราะห์เส้นทางสายไหมใหม่ในฐานะการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจระดับโลก ทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน ในกระดาน “มหาเกม” (great game) แห่งยูเรเชีย

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2017

Global Affairs

28 Apr 2017

ความสัมพันธ์สหรัฐฯ และรัสเซีย: ข้าม(ไม่)พ้น ความตึงเครียดร้าวลึก?

“รัสเซีย” เป็นหนึ่งในประเด็นด้านการเมืองและนโยบายต่างประเทศที่ร้อนแรงที่สุดในยุคโดนัลด์ ทรัมป์

ตั้งแต่การแฮกอีเมลพรรคเดโมแครต ข้อครหาเรื่องการแทรกแซงการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ จนทำให้ทรัมป์ได้รับชัยชนะ วาทศิลป์ช่วงหาเสียงของทรัมป์ที่ดูเหมือนจะ “นิยมปูติน” เกินงาม จนถึงการโจมตีทางอากาศของสหรัฐฯ ต่อซีเรีย พันธมิตรสำคัญของรัสเซีย

อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย จะเดินต่อไปบนเส้นทางใด ผู้นำอย่างทรัมป์และปูตินจะจับมือก้าวข้ามความตึงเครียดร้าวลึกที่คุกรุ่นตั้งแต่หลังสงครามเย็นได้หรือไม่

จิตติภัทร พูนขำ เล่าเบื้องลึกเบื้องหลังและที่มาที่ไปเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสหรัฐฯ และรัสเซีย ใครอยากเข้าใจปมความขัดแย้งระหว่างสองประเทศ พลาดไม่ได้!

จิตติภัทร พูนขำ

28 Apr 2017
1 2 3

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save