fbpx

World

12 Jan 2024

อำนาจอันสัมบูรณ์ของประธานาธิบดีมีไหม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองเรื่องอำนาจอันสัมบูรณ์ของประธานาธิบดีสหรัฐฯ และบทแก้ไขรัฐธรรมนูญที่ 14 ที่ศาลสูงใช้ตัดสิทธิทรัมป์ในการลงเลือกตั้งไพรมารี อันเป็นมรดกการแก้ไขรัฐธรรมนูญจากยุคปลดปล่อยทาสผิวดำ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

12 Jan 2024

US

5 Oct 2023

สี่ประธานาธิบดี: ไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกหญิงเลือกตั้ง ‘ผู้เริ่มแรก’ ในการเมืองอเมริกัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เขียนถึงไดแอนน์ ไฟน์สไตน์ วุฒิสมาชิกสหรัฐอเมริกาที่เพิ่งเสียชีวิต โดยชวนย้อนมองบทบาทการทำงานในพรรคเดโมแครตและในสภา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Oct 2023

World

2 Jun 2023

เศรษฐศาสตร์การเมืองของเพดานหนี้มรณะ: วิกฤตที่ฝ่ายขวาสร้างขึ้น

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองปัญหาหนี้สาธารณะของสหรัฐฯ ซึ่งสร้างความกังวลไปทั้งโลกการเงิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jun 2023

World

7 Apr 2023

โลกของโดนัลด์ ทรัมป์: “ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย” (ของใคร)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนมองความพยายามของกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ในการดำเนินคดีกับโดนัลด์ ทรัมป์ ซึ่งเริ่มต้นด้วยคดีปลอมแปลงเอกสารการเงิน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

7 Apr 2023

World

2 Feb 2023

ประวัติศาสตร์ของพรรคการเมืองสำคัญอย่างไร (หรืออนาคตของสามลุง)

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ พาไปสำรวจประวัติศาสตร์ระบบพรรคการเมืองอเมริกัน จนถึงยุคทรัมป์ ผู้ปฏิเสธระเบียบกติกาที่เคยเป็นมา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Feb 2023

World

12 Jan 2023

กบฏรีพับลิกัน: การสร้างความหมายใหม่แก่ประชาธิปไตยในอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เล่าเบื้องหลัง ‘มหาภารตะ’ ฉบับอเมริกัน ท่ามกลางความแตกแยกในพรรครีพับลิกันคู่ขนานไปกับความแตกแยกระดับประเทศ ระหว่างฝ่ายเสรีนิยมกับฝ่ายขวาสุดขั้วและเชื้อชาตินิยมผิวขาว

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

12 Jan 2023

US

1 Dec 2022

อเมริกันขวา ‘ชังชาติ’ ไหม: การเมืองวัฒนธรรมในอเมริกาเปรียบเทียบ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ เปรียบเทียบปัจจัยการใช้ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองระหว่างไทยและอเมริกา

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

1 Dec 2022

World

18 Nov 2022

เลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ 2022 – จากการเมืองอเมริกาถึงเศรษฐกิจการเมืองโลก

อะไรคือประเด็นที่น่าสนใจจากการเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ที่ผ่านมา ดุลอำนาจการเมืองในสหรัฐฯ รวมไปถึงทิศทางการเมืองโลกจะเป็นอย่างไร ชวนหาคำตอบจากสามผู้เชี่ยวชาญที่ติดตามการเมืองอเมริกาอย่างใกล้ชิดผ่านการวิเคราะห์และความเห็นของ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ, สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และ ปกป้อง จันวิทย์

กองบรรณาธิการ

18 Nov 2022

World

17 Nov 2022

‘คลื่นสีแดง’ หายไปไหนในการเลือกตั้งมิดเทอมสหรัฐฯ 2022?

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล วิเคราะห์ การเลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ ว่าทำไม ‘คลื่นสีแดง’ จึงไม่เกิดขึ้นตามที่หลายฝ่ายคาดการณ์ และนั่นหมายถึงขาลงของพรรครีพับลิกันจริงหรือไม่?

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล

17 Nov 2022

101 Round Table

3 Nov 2022

101 Round Table “เลือกตั้งกลางเทอมสหรัฐฯ 2022 – จากการเมืองอเมริกาถึงเศรษฐกิจการเมืองโลก”

101 Round Table ชวนวิเคราะห์ทิศทางการเมืองสหรัฐฯ และโลกหลังการเลือกตั้งกลางเทอม 2022 โดยสามผู้ติดตามการเมืองสหรัฐฯ

กองบรรณาธิการ

3 Nov 2022

US

2 Sep 2022

“ไม่มีใครอยู่เหนือกฎหมาย”: ระหว่างกระทรวงยุติธรรมกับโดนัลด์ ทรัมป์ ใครใหญ่กว่ากัน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์สถานการณ์และชวนจับตาศึกทางกฎหมายจากการพยายามเอาผิดโดนัลด์ ทรัมป์ จากเหตุการณ์บุกคองเกรส อันทำลาย ‘consensus’ ของสังคมอเมริกันที่ดำเนินมายาวนาน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Sep 2022

US

4 Aug 2022

ความศักดิ์สิทธิ์ของรัฐธรรมนูญอยู่ที่การทรยศของคนในชนชั้นปกครอง

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ทำความเข้าใจการเมืองอเมริกันในยุคหลังโลกาภิวัตน์ผ่านการสอบสวนความจริงในเหตุการณ์บุกสภาคองเกรสเมื่อ 6 ม.ค. 2021

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

4 Aug 2022

World

2 Jul 2021

การเมืองอเมริกาบนทางสองแพร่ง

ท่ามกลางความขัดแย้งที่พุ่งสูงของการเมืองอเมริกา ผลักให้สถานการณ์เดินไปบนทางสองแพร่ง แต่สุดท้ายทางออกคือการให้ระบบรัฐสภาทำงานตามปกติ

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Jul 2021

editor's note

18 Jan 2021

Editor’s Note 2021 : ปฏิบัติการเด็ดดอกไม้สะเทือนดาว

บทบรรณาธิการของ The101.world รับปี 2021 ชวนอ่านบทเรียนการเมืองจากปฏิบัติการเด็ดดอกไม้สะเทือนดาวในจอร์เจีย จนพลิกทำเนียบขาวและเปลี่ยนโฉมการเมืองสหรัฐอย่างคาดไม่ถึง

ปกป้อง จันวิทย์

18 Jan 2021
1 2 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017