fbpx

Life & Culture

16 Apr 2019

ผู้พิการ LGBT ชายขอบแห่งขอบของความแปลกแยก

วจนา วรรลยางกูร เก็บความจากวงสนทนาที่พยายามสลายเส้นแบ่งระหว่างกลุ่มเพศหลากหลายและคนพิการให้เห็นประเด็นร่วมกันเรื่องการถูกเลือกปฏิบัติ จนถึงการถูกเลือกปฏิบัติซ้ำซ้อนของคนพิการที่มีความหลากหลายทางเพศ

วจนา วรรลยางกูร

16 Apr 2019

Interviews

9 Apr 2019

เล่นพระเครื่อง เขียนนิยาย ขายดนตรี กว่า 20 ปีของ ต้า พาราด็อกซ์

คุยกับ ต้า พาราด็อกซ์ ถึงความสนใจใหม่ของเขาทั้งการเริ่มต้นเขียนนิยายและการเข้าสู่วงการพระเครื่องอย่างจริงจัง ควบคู่ไปกับความต่อเนื่องในผลงานเพลงกว่า 20 ปีที่ผ่านมา

วจนา วรรลยางกูร

9 Apr 2019

Interviews

4 Apr 2019

ถึงเวลาประชาธิปัตย์ต้องเปลี่ยนแปลง – ‘ไอติม พริษฐ์’ กับวิกฤตศรัทธาในสายตาคนรุ่นใหม่

101 ชวน ไอติม-พริษฐ์ วัชรสินธุ ทบทวนข้อผิดพลาดของพรรคประชาธิปัตย์จากการเลือกตั้ง2562 และมองข้อเสนอการเป็นฝ่ายค้านอิสระที่สร้างแรงสั่นสะเทือนในพรรค

วจนา วรรลยางกูร

4 Apr 2019

Film & Music

17 Feb 2019

The Wild Pear Tree ความแปลกแยกที่ชื่อว่าพ่อ

วจนา วรรลยางกูร ชวนดู ‘The Wild Pear Tree’ ผลงานผู้กำกับชาวตุรกี หนังพูดเยอะที่แสนอ้างว้าง อันเป็นภาพสะท้อนความสัมพันธ์ของพ่อกับลูกชายที่ขยายกว้างไปถึงเรื่องความหมายของชีวิต

วจนา วรรลยางกูร

17 Feb 2019

Justice & Human Rights

28 Jan 2019

ฟุตบอลสอนให้เคารพความเป็นมนุษย์ ‘เครก ฟอสเตอร์’ กับภารกิจ #SaveHakeem

วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ เครก ฟอสเตอร์ อดีตกัปตันทีมชาติออสเตรเลียที่ออกมาเรียกร้องให้ปล่อย ฮาคีม อัล อาไรบี นักฟุตบอลผู้ลี้ภัยชาวบาห์เรนที่ถูกขังในไทย และเรียกร้องวงการฟุตบอลว่านอกจากต้องเคารพกันในสนามแล้ว ยังต้องเคารพความเป็นมนุษย์ของทุกคนเมื่ออยู่นอกสนามด้วย

วจนา วรรลยางกูร

28 Jan 2019

Film & Music

21 Jan 2019

Happy เมียฝรั่งกับอีสานที่ขาดหาย

รีวิวสารคดี Happy (2016) ที่ตั้งคำถามถึงการแต่งงานของหญิงไทยกับฝรั่งวัยเกษียณผ่านสายตาของ คาโรลิน เกนไรท์ ผู้กำกับสาวเยอรมันที่ตามถ่ายพ่อตัวเองกับคนรักใหม่อันชวนให้คิดทบทวนถึงนิยามของ ‘ความรัก’ และ ‘ความสุข’

วจนา วรรลยางกูร

21 Jan 2019

Thai Politics

2 Jan 2019

‘สุณัย ผาสุข’ มองสิทธิมนุษยชน 2019 ความหวังไม่อาจแขวนบนความบิดเบี้ยว

วจนา วรรลยางกูร ชวน สุณัย ผาสุข พูดคุยถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองในปี 2019 ทั้งกระแสโลกจนถึงกระแสไทยอันจะมีจุดเปลี่ยนสำคัญคือการเลือกตั้งซึ่งเป็นที่จับตาของนานาชาติ

วจนา วรรลยางกูร

2 Jan 2019

Justice & Human Rights

27 Dec 2018

ความยุติธรรมไทย 2018 : ปีแห่งสิทธิมนุษยชน (แค่ในกระดาษ)

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองย้อนไปในปี 2018 ที่ผ่านมา ผ่านบทความใน 101 ที่พูดถึงเรื่องความยุติธรรมในหลากหลายด้าน ทั้งในแง่กฎหมาย สิทธิมนุษยชน และกระบวนการยุติธรรม และพบว่าสิ่งที่ยังคงไม่หายไปคือการพยายามต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมโดยภาคประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

27 Dec 2018

Interviews

18 Dec 2018

‘ศักดิ์ดา แก้วบัวดี’ เพื่อนของผู้ลี้ภัย กับมนุษยธรรมในประเทศคนดี

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ศักดิ์ดา แก้วบัวดี นักแสดงที่หันมาทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ซึ่งเสี่ยงกฎหมายและต้องยืนรับก้อนอิฐจากคำวิจารณ์ว่าทำไมไม่ช่วยคนไทยก่อน คำตอบนั้นอาจเรียบง่ายถ้ามองจากหลักมนุษยธรรม

วจนา วรรลยางกูร

18 Dec 2018

Social Issues

14 Dec 2018

‘อุ้มหาย’ ไม่ใช่อาชญากรรม ‘ซ้อมทรมาน’ ไม่มีคนผิด

วจนา วรรลยางกูร พาไปทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่รัฐ เมื่อการซ้อมคนบริสุทธิ์ให้รับสารภาพทำให้ครอบครัวเหยื่อเหมือนตกนรกทั้งเป็น และการพรากพ่อไปจากครอบครัว ทำให้ภรรยาและลูกต้องต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรมสิบกว่าปี ก่อนพบคำตอบว่าไม่พบผู้กระทำผิด

วจนา วรรลยางกูร

14 Dec 2018

Interviews

29 Nov 2018

“เผด็จการเกลียดวิชาปรัชญา” โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์

โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ มองความเป็นไปได้ของสังคมไทยในการสอนวิชาปรัชญาในโรงเรียน ที่จะช่วยพัฒนาทักษะความคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนจนถึงสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

วจนา วรรลยางกูร

29 Nov 2018

Interviews

23 Nov 2018

อาเซียนกับความไม่เป็นประชาธิปไตย ‘ดุลยภาค ปรีชารัชช’ มองบทบาทไทย 2019

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ถึงบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนปี 2019 ขยายภาพความไม่เป็นประชาธิปไตยในอาเซียนที่แต่ละประเทศเข้ามาโอบอุ้มกันและกัน

วจนา วรรลยางกูร

23 Nov 2018

Thai Politics

30 May 2017

พ่อของเธอ เพื่อนของเขา : จนกว่าเราจะพบกันใหม่ (ในสถานการณ์ปกติ)

ตลอดสามปีแห่งการ ‘คืนความสุข’ โดยคสช. คนจำนวนหนึ่งตกเป็นจำเลยด้วยข้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคง นี่คือเรื่องเล่าของคนธรรมดาที่ไม่ได้อยู่ในรายการเดินหน้าประเทศไทย ไม่เคยปรากฏในสื่อกระแสหลัก แต่ประจักษ์แจ้งอยู่ในสมองและหัวใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถูกทำให้เป็นอื่น และบางคนก็ต้องย้ายไปอยู่บนแผ่นดินอื่น—อย่างไม่มีกำหนดกลับ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

30 May 2017
1 8 9

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save