แด่คนรักที่หายไป หวังว่าพรุ่งนี้โลกจะโหดร้ายน้อยลง
วจนา วรรลยางกูร เก็บความจากงานรำลึก 15 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร

วจนา วรรลยางกูร เก็บความจากงานรำลึก 15 ปี การหายตัวไปของทนายสมชาย นีละไพจิตร
วจนา วรรลยางกูร ชวนดู ‘The Wild Pear Tree’ ผลงานผู้กำกับชาวตุรกี หนังพูดเยอะที่แสนอ้างว้าง อันเป็นภาพสะท้อนความสัมพันธ์ของพ่อกับลูกชายที่ขยายกว้างไปถึงเรื่องความหมายของชีวิต
วจนา วรรลยางกูร พูดคุยกับ เครก ฟอสเตอร์ อดีตกัปตันทีมชาติออสเตรเลียที่ออกมาเรียกร้องให้ปล่อย ฮาคีม อัล อาไรบี นักฟุตบอลผู้ลี้ภัยชาวบาห์เรนที่ถูกขังในไทย และเรียกร้องวงการฟุตบอลว่านอกจากต้องเคารพกันในสนามแล้ว ยังต้องเคารพความเป็นมนุษย์ของทุกคนเมื่ออยู่นอกสนามด้วย
รีวิวสารคดี Happy (2016) ที่ตั้งคำถามถึงการแต่งงานของหญิงไทยกับฝรั่งวัยเกษียณผ่านสายตาของ คาโรลิน เกนไรท์ ผู้กำกับสาวเยอรมันที่ตามถ่ายพ่อตัวเองกับคนรักใหม่อันชวนให้คิดทบทวนถึงนิยามของ ‘ความรัก’ และ ‘ความสุข’
วจนา วรรลยางกูร ชวน สุณัย ผาสุข พูดคุยถึงสถานการณ์สิทธิมนุษยชนที่น่าจับตามองในปี 2019 ทั้งกระแสโลกจนถึงกระแสไทยอันจะมีจุดเปลี่ยนสำคัญคือการเลือกตั้งซึ่งเป็นที่จับตาของนานาชาติ
วจนา วรรลยางกูร ชวนมองย้อนไปในปี 2018 ที่ผ่านมา ผ่านบทความใน 101 ที่พูดถึงเรื่องความยุติธรรมในหลากหลายด้าน ทั้งในแง่กฎหมาย สิทธิมนุษยชน และกระบวนการยุติธรรม และพบว่าสิ่งที่ยังคงไม่หายไปคือการพยายามต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมโดยภาคประชาชน
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ศักดิ์ดา แก้วบัวดี นักแสดงที่หันมาทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ซึ่งเสี่ยงกฎหมายและต้องยืนรับก้อนอิฐจากคำวิจารณ์ว่าทำไมไม่ช่วยคนไทยก่อน คำตอบนั้นอาจเรียบง่ายถ้ามองจากหลักมนุษยธรรม
วจนา วรรลยางกูร พาไปทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่รัฐ เมื่อการซ้อมคนบริสุทธิ์ให้รับสารภาพทำให้ครอบครัวเหยื่อเหมือนตกนรกทั้งเป็น และการพรากพ่อไปจากครอบครัว ทำให้ภรรยาและลูกต้องต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรมสิบกว่าปี ก่อนพบคำตอบว่าไม่พบผู้กระทำผิด
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ มองความเป็นไปได้ของสังคมไทยในการสอนวิชาปรัชญาในโรงเรียน ที่จะช่วยพัฒนาทักษะความคิดเชิงวิพากษ์ของนักเรียนจนถึงสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย
วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ผศ.ดร.ดุลยภาค ปรีชารัชช อาจารย์โครงการเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ ถึงบทบาทไทยในฐานะประธานอาเซียนปี 2019 ขยายภาพความไม่เป็นประชาธิปไตยในอาเซียนที่แต่ละประเทศเข้ามาโอบอุ้มกันและกัน
ตลอดสามปีแห่งการ ‘คืนความสุข’ โดยคสช. คนจำนวนหนึ่งตกเป็นจำเลยด้วยข้อหาเป็นภัยต่อความมั่นคง นี่คือเรื่องเล่าของคนธรรมดาที่ไม่ได้อยู่ในรายการเดินหน้าประเทศไทย ไม่เคยปรากฏในสื่อกระแสหลัก แต่ประจักษ์แจ้งอยู่ในสมองและหัวใจของคนไทยกลุ่มหนึ่ง ซึ่งถูกทำให้เป็นอื่น และบางคนก็ต้องย้ายไปอยู่บนแผ่นดินอื่น—อย่างไม่มีกำหนดกลับ
ระบบ Recommend จะคัดสรรบทความและสื่อสร้างสรรค์ต่างๆ ที่คุณสนใจ มาให้คุณเลือกในหน้าโปรไฟล์ส่วนตัวของคุณ ให้คุณไม่พลาดทุกเนื้อหาที่คัดมาสำหรับคุณโดยเฉพาะ
คุณสามารถบันทึกบทความแบบ Read Later โดยคลิกที่ปุ่ม Bookmark Icon หรือจะเก็บบทความที่ชื่นชอบเป็นการส่วนตัวไว้ในหมวด Favorite โดยคลิกที่ปุ่ม Favorite Icon เพื่อกลับมาอ่านในภายหลัง
เพียงคุณลงชื่อเข้าใช้ ระบบจะจดจำตัวเลือกฟอนต์และธีมสีที่คุณเคยเลือก ให้คุณอ่านและรับชมทุกเนื้อหาอย่างเต็มที่ สบายตาและเพลิดเพลินใจในแบบที่เหมาะกับคุณ ไม่ว่าจะใช้งานบนคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต หรือสมาร์ตโฟน
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า