fbpx

Trends

21 Apr 2017

“ซินแสโชกุน” ต้มตุ๋นสไตล์สากล

“ซินแสโชกุน” พุ่งติดชาร์ตขึ้นทำเนียบคนลวงโลกคนล่าสุดของสังคมไทย

วิถีลวงโลกของซินแสโชกุน แท้จริงแล้วมิได้มีอะไรใหม่ รูปแบบต้มตุ๋นก็เป็นไปตามที่สากลเขาเคยทำกัน จนมีชื่อเรียกว่า Ponzi Scheme และถือว่าเลวเท่าเทียมกันเพราะทำให้คนอื่นเจ็บปวดจากความสูญเสีย

“ซินแสโชกุน” มิใช่คนแรกก็จริง แต่ก็มิใช่คนสุดท้ายอย่างแน่นอน ตราบที่โลกยังเต็มไปด้วยคนโลภแบบไม่แคร์เหตุแคร์ผล

วรากรณ์ สามโกเศศ จะพาคุณย้อนประวัติศาสตร์ เล่าที่มาที่ไปของวิถีต้มตุ๋นที่ตั้งชื่อตามสุดยอดคนลวงโลก Charles Ponzi ชาวอิตาลี ผู้ข้ามน้ำข้ามทะเลมาหากินในอเมริกาด้วยเงินในกระเป๋าไม่ถึง 3 เหรียญ!

วรากรณ์ สามโกเศศ

21 Apr 2017

Global Affairs

14 Apr 2017

วิธีอ่าน 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ หัวหน้าภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดคอลัมน์ ‘อ่านโลก แบบ 101’ ทุกวันศุกร์ที่ 2 ของเดือน

“ครูสอนอ่านของผมท่านสอนวิธีอ่านงานวิชาการในสาขาที่ผมเรียนว่า ดนตรีไทยเขามี 3 ชั้น การอ่านเอาเรื่องเพื่อหาและสร้างความรู้ในสาขาของเราก็ต้องฝึกอ่าน 3 ชั้นเป็นพื้นฐานเหมือนกัน …

… ครูของผมใช้ทางอ่าน 3 ชั้นอ่านอะไรๆ ออกมาได้ล้ำลึกพิสดาร แต่พื้นฐานตั้งต้นในการอ่าน 3 ชั้นนี้ความจริงแล้วเรียบง่ายมากครับ ขึ้นอยู่กับว่าใครจะพลิกแพลงกระบวนท่าไปใช้ได้ถึงขั้นไหน”

วิธีอ่าน 3 ชั้น มีเคล็ดวิชาอย่างไร เชิญฝึก ‘วิธีอ่านโลกแบบเอาเรื่อง’ กับ ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้เลยครับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

14 Apr 2017

Trends

13 Apr 2017

เปิดเคล็ดลับแผนธุรกิจปฏิวัติโลก

เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถปฏิวัติโลกแห่งธุรกิจ หรือช่วย ‘ยักษ์ใหม่’ ล้ม ‘ยักษ์ใหญ่’ ได้

‘แผนธุรกิจ’ หรือ Business Plan ต่างหากที่มีความสำคัญ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เปิดผลการศึกษาของทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยเคล็ดลับหกประการของแผนธุรกิจระดับปฏิวัติโลก

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

13 Apr 2017

Trends

7 Apr 2017

เมื่อคนรุ่นใหม่หนีโลกความจริง…ไปเล่นวิดีโอเกม

เมื่อสังคมสหรัฐฯ มาถึงจุดที่คนรุ่นใหม่ (ส่วนหนึ่ง) หนีโลกแห่งความเป็นจริงไปใช้ชีวิตอยู่ในวิดีโอเกม
อาร์ม ตั้งนิรันดร คณะนิติศาสตร์ จุฬาฯ ชวนคิดเรื่องวิดีโอเกม จากมุมมองทางเศรษฐกิจ สังคม และนโยบายสาธารณะ

อาร์ม ตั้งนิรันดร

7 Apr 2017

Global Affairs

6 Apr 2017

ซีเรีย 101: จากสงครามกลางเมือง สู่สงครามตัวแทน

ใครอยากรู้ที่มาที่ไปของสงครามซีเรียต้องอ่าน!

คนส่วนใหญ่รู้ว่าเกิดสงครามกลางเมืองในประเทศซีเรีย แต่อะไรคือสาเหตุของสงคราม ที่ทำให้เมืองที่หลายพื้นที่เป็นมรดกโลกถูกทำลายเหลือเพียงซากปรักหักพัง? และทำไมศูนย์กลางของสงครามต้องเป็นเมืองอเลปโป?

นอกจากนั้น สงครามที่ยืดเยื้อยาวนานก้าวไปไกลกว่าการสู้รบกันระหว่างฝ่ายรัฐบาลและกลุ่มกบฏ แต่พัฒนากลายเป็นสงครามตัวแทนของหลายฝ่าย … ใครเป็นใครในฝ่ายไหนกันบ้าง?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ จะพาไปหาคำตอบของคำถามเหล่านี้ และเปิดประเด็นถกเถียงเกี่ยวกับสงครามในซีเรียที่โลกกำลังให้ความสนใจ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

6 Apr 2017

People

4 Apr 2017

ชีวิตและความคิดของ “หล่ะ มยิ้น” เทคโนแครตร่วมชะตากรรมป๋วย : ภาพสะท้อนของพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงคราม

นักเศรษฐศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนปริญญาเอกจาก LSE ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ลูกศิษย์ของรอบบินส์กับฮาเย็ค เทคโนแครตคนสำคัญของประเทศ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยชั้นนำ คนตรงในประเทศคด และปัญญาชนคนสำคัญผู้เลือกที่จะ ‘ตายนอกบ้าน’

เราไม่ได้เล่าเรื่อง ป๋วย อึ๊งภากรณ์ แต่ ลลิตา หาญวงษ์ แห่งภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จะชวนคุณไปรู้จัก “หล่ะ มยิ้น” นักเศรษฐศาสตร์ระดับตำนานของพม่า เทคโนแครตผู้มีชะตากรรมซ้อนทับกับ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ในหลายแง่มุม

“หล่ะ มยิ้น” เป็นใคร และมีคุณูปการต่อการศึกษาเศรษฐศาสตร์ของโลกและพม่าอย่างไร และชีวิตของเขาสะท้อนให้เราเห็นภาพพม่าสมัยใหม่ยุคหลังสงครามอย่างไร ติดตามได้ในสารคดีพิเศษชิ้นนี้

ลลิตา หาญวงษ์

4 Apr 2017

World

31 Mar 2017

ประชานิยมในยุโรป: อเสรีนิยม VS เสรีนิยม(ใหม่)ที่ไร้ประชาธิปไตย

จิตติภัทร พูนขำ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิเคราะห์กระแสประชานิยมในยุโรป ประชานิยมเป็นปีศาจร้ายตัวใหม่ หรือมันช่วยเปิดประเด็นให้เรามองเห็นอะไรชัดขึ้น

ประชานิยมเป็นคำตอบของวิกฤตเสรีนิยมใหม่หรือไม่ ถ้าไม่ใช่ อะไรคือคำตอบที่ควรจะเป็น

จิตติภัทร พูนขำ

31 Mar 2017

Global Affairs

24 Mar 2017

Operation Chromite : เมื่อเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าประวัติศาสตร์เมื่อครั้งเกาหลีใต้เกือบสูญพันธุ์

Operation Chromite ปฏิบัติการทางการทหารที่เมืองอินชอน บัญชาการทัพโดยนายพลดักลาส แมกอาร์เธอร์ มีความสำคัญต่อชะตาชีวิตของประเทศเกาหลีใต้อย่างไร มาร่วมเรียนรู้อดีตไปด้วยกัน

วรากรณ์ สามโกเศศ

24 Mar 2017

Education

21 Mar 2017

จุดจบของมหาวิทยาลัย? MOOC กับความท้าทายใหม่ในโลกการศึกษา

ในยุค MOOC หรือ Massive Open Online Course มาแรงแซงทุกโค้ง โลกธุรกิจการศึกษาต้องปรับตัวอย่างไร นักเรียนออนไลน์เป็นใคร วิชาอะไรดี วิชาอะไรโดน แล้วมหาวิทยาลัยใกล้ตายหรือยัง!

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ อาจารย์คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชวนคิดเรื่องความท้าทายใหม่ในโลกการเรียนรู้

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

21 Mar 2017

Global Affairs

17 Mar 2017

โลกเอียงขวา ประชานิยม และอนาคตประชาธิปไตย

จาก Brexit สู่ทรัมป์ ถึงเลอ เพน … กระแส “ขวาประชานิยม” กำลังครองโลก

จันจิรา สมบัติพูนศิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชวนตั้งคำถามถึงการเมืองเรื่องซ้าย-ขวา และประชานิยม ค้นหาคำอธิบายสาเหตุของ “โลกหันขวา” ทั้งในมิติวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ และสำรวจสารพัดคำถามใหม่ที่ท้าทายโลกยุคเอียงขวา

โลกจะเดินต่ออย่างไรบนทางแพร่งแห่งอนาคตของเสรีนิยมประชาธิปไตย

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

17 Mar 2017

China

17 Mar 2017

เคล็ดวิชารักษาอำนาจของรัฐบาลเผด็จการ

เผด็จการในโลกยุคโซเชียลมีเคล็ดวิชารักษาอำนาจอย่างไร? รัฐบาลอาจไม่ได้ตั้งหน้าตั้งตาไล่เซ็นเซอร์คนคิดต่าง แต่มีวิธีปั่นหัวคุณด้วยวิธีที่คาดไม่ถึง อาร์ม ตั้งนิรันดร อาจารย์คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้สนใจอ่าน-เขียน-เรียนเรื่องจีน เปิดงานวิจัยว่าด้วยวิธีรักษาอำนาจของรัฐบาลจีน แล้วแอบนำเทคนิคทางการเมืองของรัฐบาลเผด็จการมาเล่าสู่ให้รู้ทัน!

อาร์ม ตั้งนิรันดร

17 Mar 2017

Trends

14 Mar 2017

‘จุดตัด’ ในยุคเปลี่ยนผ่าน

ใครๆ ก็บอกว่า เราอยู่ในยุคที่ทุกอย่างกำลังเปลี่ยนผ่านไปอย่างรวดเร็ว แต่คำถามก็คือ มันมีอะไรเปลี่ยนผ่านบ้าง และเราจะ ‘เห็น’ สิ่งที่เปลี่ยนผ่านทั้งหลายแหล่เหล่านั้นได้อย่างไร เพราะเมื่อมันกำลังเปลี่ยนผ่าน เราย่อมมองหามันไม่ได้ง่ายๆ คำตอบต่อคำถามนี้ก็คือ เราต้องพยายามมองหา ‘จุดตัด’ ของสภาวะต่างๆ ที่จะโผล่ขึ้นมาทำให้เราเห็นถึง ‘สัญญาณ’ การเปลี่ยนผ่านบางอย่าง สมคิด พุทธศรี จะพาเราไปค้นหา ‘จุดตัด’ ที่ว่านั้น

สมคิด พุทธศรี

14 Mar 2017

Global Affairs

7 Mar 2017

โลกที่ไม่มีไฟนอลเวอร์ชั่น : เมื่อประวัติศาสตร์ยังไม่จบ

ตลอดประวัติศาสตร์ มนุษย์พยายามเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งที่ (ตัวเองเชื่อว่า) ดีกว่าอยู่เสมอ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องส่วนตัว หรือสังคม มาถึงวันนี้ เรากำลังต้องเปลี่ยนอีกครั้ง

สมคิด พุทธศรี

7 Mar 2017

Global Affairs

6 Mar 2017

เปิดกว้าง หรือ ปิดกั้น? ปัญหา ‘ผู้ลี้ภัย’ ในวันที่โลกหมุนวนขวา

นับแต่วันที่ทรัมป์เข้ารับตำแหน่งอย่างเป็นทางการ สถานการณ์ของ ‘ผู้ลี้ภัย’ ก็ตกอยู่ในภาวะที่ไม่แน่นอน และอาจเป็นภาพสะท้อนที่ชัดเจนของความหวาดกลัวชาวต่างชาติ โดยเฉพาะชาวมุสลิม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017

World

6 Mar 2017

ดาบในมือผู้นำ

ใครเคยเยี่ยมชม National Museum of American History หนึ่งในพิพิธภัณฑ์สังกัด Smithsonian Institution กลางกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. น่าจะเคยเห็นรูปปั้นจอร์จ วอชิงตันตั้งตระหง่านอยู่บนชั้นสอง นอกจากความกล้าหาญชาญชัยของศิลปินในการตีความวอชิงตันแบบแหวกแนวไม่เหมือนใครแล้ว องค์ประกอบบางอย่างของรูปปั้นก็น่าสนใจไม่แพ้กัน !

ปกป้อง จันวิทย์

6 Mar 2017
1 88 89 90

MOST READ

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

US

5 Apr 2024

ภาวะ ‘เขาควาย’ (dilemma) ของโจ ไบเดน: ความอับจนของมหาอำนาจต่อหน้าการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิเคราะห์การเผชิญหน้าของสหรัฐฯ ต่อสองวิกฤตการเมืองโลกคือ รัสเซีย-ยูเครน และ ฮามาส-อิสราเอล ภายใต้การนำของโจ ไบเดน ที่ตอบสนองต่อสองเรื่องนี้ในทิศทางตรงกันข้าม

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Apr 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save