fbpx

City

24 Nov 2017

Modern Syndrome: เมื่อคน-เมืองป่วย เราจะทำอย่างไร?

เมืองไม่ได้มอบความสะดวกสบาย ความทันสมัย และความหวือหวาให้แก่พวกเราเท่านั้น แต่ยังสร้างสิ่งแย่ๆ อย่างเช่น ‘Modern Syndrome’ ให้แก่พวกเราอีกด้วย หลายคนอาจกำลังเผชิญกับมันอยู่โดยไม่รู้ตัว ในงาน 101 minutes at Starbucks ครั้งที่ 4: Modern Syndrome The101.world ได้มีโอกาสคุยกับสามวิทยากรผู้มากประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องเมือง ถึงปัญหาเมืองที่ทำให้เราเกิดโรคภัยไข้เจ็บแปลกๆ ไว้ในหลากหลายแง่มุม

กองบรรณาธิการ

24 Nov 2017

City

31 Oct 2017

การสร้างเมืองแบบพอร์ตแลนด์: ความคิด ความร่วมมือ และความพยายาม

หากพูดถึงเมืองที่เขียวและยั่งยืนเป็นอันดับต้นๆ ของโลก หลายคนคงนึกถึงเมืองพอร์ตแลนด์อย่างแน่นอน แต่กว่าเมืองพอร์ตแลนด์จะมาเป็นอย่างที่เห็นในวันนี้ไม่ใช่เรื่องง่าย
วันนี้ นายกเทศมนตรีแห่งเมืองพอร์แลนด์จะมาบอกเล่าประสบการณ์การพัฒนาเมืองแบบพอร์ตแลนด์ให้ฟัง ลองไปดูกันว่าเมืองพอร์ตแลนด์เดินมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร

วชิรวิทย์ คงคาลัย

31 Oct 2017

City

20 Oct 2017

เราจะอยู่ร่วมกันกับการค้าข้างทางได้อย่างไร: บทเรียนจากนานาประเทศถึงไทย

ปัญหาการค้าข้างทางมักเป็นปัญหาหนึ่งที่ใครหลายๆ คนมักบ่นถึง บางคนถึงขั้นบอกว่า วิธีการจัดการที่ดีที่สุดก็คือ การนำมันออกไป แต่นี่นับเป็นวิธีการที่ดีที่สุดแล้วหรือ เพราะหลายครั้งที่ผ่านมา เวลามีการจัดระเบียบไล่รื้อ พอเวลาผ่านไป แผงลอยก็จะกลับมาใหม่เสมอ แล้วเราควรทำอย่างไรดี?

วชิรวิทย์ คงคาลัย

20 Oct 2017

City

6 Oct 2017

‘ขอนแก่นโมเดล’ พัฒนาเมืองด้วยพลังคนเมือง : คุยกับ สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย

หากพูดถึงเรื่องเมืองที่กำลังมาแรงในประเทศไทย ขอนแก่นน่าจะเป็นหนึ่งในนั้นอย่างแน่นอน ทุกวันนี้ ทุกคนต่างประจักษ์กันแล้วว่า ขอนแก่นเป็นเมืองแรกๆ ที่ลุกขึ้นมาพัฒนาตัวเอง โดยเริ่มจากคนท้องถิ่น ไม่ง้อรัฐ จนกลายเป็นโมเดลที่เมืองอื่นๆ อยากเดินตาม คำถามสำคัญคือ เขาเดินมาถึงจุดนี้กันได้อย่างไร สุรเดช ทวีแสงสกุลไทย จะมาเป็นผู้ไขข้อสงสัยดังกล่าว

วชิรวิทย์ คงคาลัย

6 Oct 2017

City

19 Sep 2017

ถอดรหัสการพัฒนาเมืองแบบฉลาดสไตล์สิงคโปร์

คุณอยากรู้ไหมว่า ประเทศเล็กๆ อย่าง ‘สิงคโปร์’ มีแนวทางการพัฒนาเมืองกันอย่างไร จึงทำให้เมืองของเขาน่าอยู่น่าไปมากกว่าหลายๆ เมือง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

19 Sep 2017

City

12 Sep 2017

คืนความเป็นธรรมให้กับการค้าข้างทาง

หลายคนอาจมองว่าการค้าข้างทางหรือหาบเร่แผงลอยคือต้นตอของปัญหาเมืองหลายด้าน แต่งานวิจัยล่าสุดได้ออกมาชี้แล้วว่า สิ่งที่หลายคนคิดนี้อาจจะผิด หรือเป็นเพียงแค่มายาคติเท่านั้น จริงๆ แล้ว การค้าแผงลอยอาจมีประโยชน์ต่อเมืองและต่อคุณมากกว่าที่พวกเราได้เคยคาดคิดไว้

วชิรวิทย์ คงคาลัย

12 Sep 2017

City

11 Sep 2017

เมืองดีชีวิตก็แฮปปี้ : ทดลองเปลี่ยนเมืองให้ดีต่อใจด้วยทางม้าลายสีรุ้ง

ใครว่าการออกแบบเมืองไม่สำคัญ? มาดูตัวอย่างการเปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติของผู้คนด้วยการทดลองออกแบบบางส่วนของเมืองให้เปลี่ยนไป แล้วจะรู้ว่าชีวิตดีๆ สร้างได้จากเมืองที่ออกแบบด้วย ‘ความเข้าใจ’

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

11 Sep 2017

City

2 Aug 2017

สำรวจโครงการ ‘Smart City’ ในแอฟริกา : พัฒนาเมืองด้วยไอที ชีวิตดีๆ ที่ลงตัว ?

หลายประเทศในแอฟริกา กำลังวางแผนระยะยาวในการเปลี่ยนเมืองใหญ่และแออัดให้เป็นเมืองไฮเทค หรือที่เรียกว่า ‘Smart City’ บทความนี้จะพาคุณไปสำรวจว่าเทคโนโลยีจะช่วยพัฒนาเมืองได้อย่างไร แล้วมันมีข้อดีหรือข้อจำกัดในด้านไหนบ้าง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

2 Aug 2017

City

9 Jun 2017

บ้านคับกับเมืองแคบ ทางออกของคนเมืองศตวรรษ 21

เอกศาสตร์ สรรพช่าง ชวนคุยถึงเทรนด์ใหม่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของเรา นั่นคือการอยู่ใน ‘ที่แคบ’ อย่างบ้านจิ๋ว ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมมากขึ้นเรื่อยๆ อย่างว่าแหละเนอะ – คับที่น่ะอยู่ได้ แต่คับใจต่างหากที่อยู่ยาก!

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

9 Jun 2017

City

18 Apr 2017

ย้ายไคโร : เมื่อจีนบุกอียิปต์-มาช่วยสร้างเมืองหลวงใหม่

อีกไม่นาน ไคโร-เมืองหลวงเก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก จะไม่ใช่เมืองหลวงของอียิปต์อีกต่อไปแล้ว เพราะอียิปต์มีแผนจะย้ายเมืองหลวงไปอยู่ใน ‘เมืองใหม่’ อีกแห่ง แต่ปัญหาก็คือ การย้ายเมืองหลวงต้องใช้เงินมหาศาล คำถามก็คือ อียิปต์จะเอาเงินมาจากไหน
แน่นอน-เรื่องนี้พี่เบิ้มทางเศรษฐกิจรายใหม่ของโลกต้องยื่นมือเข้ามาแน่ๆ ก็พี่จีนนั่นไง!

กองบรรณาธิการ

18 Apr 2017

City

27 Mar 2017

7 ความเป็นไปได้ที่ทำให้รถติด

รถติดเหลือเกิน น่ารำคาญ หงุดหงิด ยิ่งแดดร้อนๆ และต้องอยู่บนรถเมล์ที่ไม่มีเครื่องปรับอากาศ แถมติดแหงกอยู่กลางสี่แยก ช่างน่าเวทนาเสียจริง วันนี้เราจะลองพาคุณไปสำรวจว่า รถติด-ติดจากอะไร
และรู้สาเหตุแล้ว จะแก้ไขปัญหารถติดกันได้หรือไม่!

วชิรวิทย์ คงคาลัย

27 Mar 2017

City

13 Mar 2017

เมื่อพื้นที่สาธารณะขายวิญญาณให้โลกโฆษณา

นิวยอร์กเกอร์แห่ไปกดซื้อบัตรโดยสารจากแบรนด์เนมชื่อดัง ขณะที่หน้าพี่ซงจุงกิก็แปะอยู่เต็มรถไฟฟ้าบ้านเรา ยังมีที่ไหนอีกที่พื้นที่สาธารณะขายวิญญาณให้โลกโฆษณา และเขาจัดการกับสิ่งที่ได้มาอย่างไรกัน?

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

13 Mar 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017
1 7 8

RECOMMENDED

ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ

31 Mar 2024

ฝาท่อที่ญี่ปุ่นบอกอะไรกับเรา

ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงการออกแบบฝาท่อที่ประเทศญี่ปุ่นเพื่อสะท้อนเกี่ยวกับการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น

ณัฐกร วิทิตานนท์

31 Mar 2024

Life & Culture

8 Apr 2024

THE ZONE OF INTEREST สูตร ‘แกงเผ็ช’ เคล็ดล้างครัว ไส้อั่ว Currywurst เยอรมัน

‘กัลปพฤกษ์’ เทียบเคียง The Zone of Interest (2023) ฉบับภาพยนตร์กับนิยายที่ช่างแตกต่างกันเสียนี่กระไร เพราะสำหรับเขาแล้ว นิยายเรื่องนี้ ist so schlecht ทว่า der Film ist so gut! และนี่เองคือบทพิสูจน์ว่าทำไมสำหรับ ‘กัลปพฤกษ์’ แล้ว โจนาธาน เกลเซอร์ ist ein wunderbarer Filmregisseur!

‘กัลปพฤกษ์’

8 Apr 2024

Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save