fbpx

Life & Culture

15 Nov 2021

สยองวิทยา ผวาศาสตร์

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงเหตุผลว่าทำไมคนถึงชอบดูหนังผีทั้งๆ ที่กลัว อะไรคือสาเหตุเบื้องหลังการกระทำที่ชวนย้อนแย้งเช่นนี้

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Nov 2021

World

12 Nov 2021

ชวนคิดนอกกรอบ COP26: เมื่อการแข่งขันอาจช่วยแก้ปัญหาโลกร้อนได้ดีกว่าความร่วมมือ?

ส่งท้ายการประชุม COP26 จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา เขียนถึง ความยากลำบากในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศผ่านกรอบพหุภาคี และการพัฒนา ‘ความร่วมมือแบบคลับ’ ที่มีแนวคิด ‘การเติบโตสีเขียว’ เป็นแก่น และใช้การแข่งขันทางภูมิรัฐศาสตร์ในการขับเคลื่อนความร่วมมือภายในคลับ

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

12 Nov 2021

Asean

10 Nov 2021

วังวนอันเชี่ยวกรากของทุนนิยมพวกพ้องมาเลเซีย

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง พามองระบบทุนนิยมพวกพ้องในแบบมาเลเซีย อันผูกพันแนบแน่นกับระบบการเมืองอุปถัมป์และการเมืองเชื้อชาตินิยม จนหยั่งรากลึกในมาเลเซียถึงปัจจุบัน

ปรางค์ทิพย์ ดาวเรือง

10 Nov 2021

Economy

9 Nov 2021

เป็นบ๊วยได้อย่างไร : เมื่อความเหลื่อมล้ำซ้ำเติมความไร้ประสิทธิภาพของรัฐในการจัดการวิกฤตโควิด-19

กัลป์ กรุยรุ่งโรจน์ และ ศุภวิชญ์ สันทัดการ พาไปวิเคราะห์ว่าเพราะเหตุใดการจัดการวิกฤตโควิดของรัฐไทยถึงไร้ประสิทธิภาพ ซึ่งเรื่องนี้เชื่อมโยงอยู่กับความเหลื่อมล้ำอย่างมีนัยยะสำคัญ

ศูนย์วิจัยความเหลื่อมล้ำและนโยบายสังคม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

9 Nov 2021

สารกันเบื่อ

9 Nov 2021

ติดแอร์ VS ปลูกต้นไม้: อย่างไหนรอด อย่างไหนร่วง บนโลกที่ร้อนขึ้น

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความเป็นไปได้ของเทคโนโลยีเครื่องปรับอากาศในอนาคต ที่อาจลดผลกระทบต่อสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม ในวันที่การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศคือวาระโลก

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

9 Nov 2021

The Scythe

8 Nov 2021

การแก้แค้นให้กับหัวใจที่ถูกแทงด้วยเงี่ยง

คอลัมน์ ‘The Scythe’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา เขียนถึง การตายจากเงี่ยงกระเบนของ สตีฟ เออร์วิน เจ้าของฉายา ‘นักล่าจระเข้’ ผู้โด่งดังจากออสเตรเลีย อันนำไปสู่การฆ่าล้างแค้นกระเบนที่อาจขัดเจตนารมณ์ความเป็นนักอนุรักษ์สัตว์ป่า

โตมร ศุขปรีชา

8 Nov 2021

World

5 Nov 2021

The Great Resignation: ‘การลาออกอันยิ่งใหญ่’ คือเครื่องมือต่อสู้สุดท้ายของกรรมกร

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนคิดถึงคำถามที่ว่า “ทำไมต้องทำงาน?” ผ่านปรากฏการณ์การลาออกอันยิ่งใหญ่ที่เป็นผลจากโรคระบาดอันทำให้คนต้องเปลี่ยนแปลงสภาพการทำงานและสถานที่ทำงาน จนนำไปสู่การตั้งคำถามถึงงานที่ทำอยู่

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

5 Nov 2021

Life & Culture

5 Nov 2021

อรุณยังรุ่งฟ้าอยู่เสมอ : 6 เรื่องของนักการทูตที่ไม่ธรรมดา ‘อรุณ ภาณุพงศ์’

กษิดิศ อนันทนาธร ชวนอ่าน 6 เรื่องเกี่ยวกับ ‘อรุณ ภาณุพงศ์’ ผู้ล่วงลับ เพื่อทำความรู้จักนักการทูตผู้มีชีวิตที่ไม่ธรรมดา

กษิดิศ อนันทนาธร

5 Nov 2021

Politics

2 Nov 2021

อบต. – การปกครองท้องถิ่นของคนส่วนใหญ่ของประเทศที่ถูกด้อยค่า

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ เขียนถึงที่มาและโครงสร้างของ อบต. หนึ่งในส่วนบริหารท้องถิ่นที่สำคัญของไทย

ณัฐกร วิทิตานนท์

2 Nov 2021

Latin America

2 Nov 2021

การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงกับเมือง: ภาพสะท้อนจากลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาวแสงรัตน์ ชวนมองความสัมพันธ์ระหว่างความรุนแรงกับความเป็นเมือง โดยถอดบทเรียนจากประเทศในภูมิภาคลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

2 Nov 2021

China

2 Nov 2021

ทางออกและทางตันของปัญหาจีน-ไต้หวัน

อาร์ม ตั้งนิรันดร เขียนถึงปัญหาการรวมชาติจีน-ไต้หวันท่ามกลางความขัดแย้งจีน-สหรัฐฯ ที่อาจพาความหวังในการรวมชาติไปสู่ทางที่ตันยิ่งกว่าที่เคยเป็นมา

อาร์ม ตั้งนิรันดร

2 Nov 2021
1 17 18 19 38

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save