fbpx

Thai Politics

18 May 2018

4 ปี คสช. : การจัดดุลอำนาจใหม่ภายใต้ระบอบอำนาจนิยมที่อ่อนแอ

อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์ และสมชาย ปรีชาศิลปกุล วิพากษ์ “4 ปี คสช.” ว่าด้วยปมเงื่อนการเมืองไทย แผนที่ดุลอำนาจใหม่ และเส้นทางยาวไกลของการเมืองภาคพลเมือง

สมคิด พุทธศรี

18 May 2018

Interviews

12 Apr 2018

David Streckfuss : การเมืองผิดเพี้ยน ในประเทศผุพัง

คุยกับ ‘เดวิด สเตรคฟัส’ นักวิชาการอิสระชาวอเมริกัน ผู้มาปักหลักทำงานอยู่ในภาคอีสานกว่า 25 ปี ว่าด้วยอนาคตประเทศไทย ภายใต้เงื่อนไขที่เต็มไปด้วยความ ‘absurd’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 Apr 2018

Interviews

7 Mar 2018

คำต่อคำ : “การเมืองแห่งอนาคต” ของธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ

เปิดตัวตน ความคิด และวิถีการเมืองของ “ธนาธร จึงรุ่งเรืองกิจ” พร้อมตอบทุกคำถามเกี่ยวกับ “การเมืองแห่งอนาคต” และพรรคทางเลือกใหม่ที่กำลังจะเปิดตัว

กองบรรณาธิการ

7 Mar 2018

มองอเมริกา

2 Mar 2018

ปัญหาประชาธิปไตยในอเมริกา

การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ ในปี 2016 เปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของ “ประชาธิปไตยในอเมริกา” อย่างมหาศาลเกินจินตนาการ ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ ชวนวิเคราะห์การเมืองอเมริกันภายใต้โดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีแบบที่สหรัฐไม่เคยพบเจอมาก่อน

ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ

2 Mar 2018

Interviews

7 Feb 2018

พลังป้าแห่ง MBK 39 รู้จักแล้วจะรักป้ามากขึ้น

ชลธร วงศ์รัศมี เปิดใจกลุ่ม “ป้า” ที่เพิ่งเข้าสังกัด “MBK 39” หลังจากเข้าร่วมแสดงจุดยืนเรียกร้องการเลือกตั้งที่หน้าห้างมาบุญครองเมื่อวันที่ 27 มกราคม 2561 และตำรวจได้ ‘ออดิชั่น’ ผู้ชุมนุม 39 คนจากภาพถ่าย เพื่อมารับข้อหาผิด พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. 2558

หาก “MBK 39” คือ วงไอดอล แน่นอนว่า ป้าคือ ‘เซ็นเตอร์’ ของวง ที่ถูกบังคับให้ไปงาน “ปั๊มลายนิ้วมือ”

ชลธร วงศ์รัศมี

7 Feb 2018

Thai Politics

26 Jan 2018

จอน อึ๊งภากรณ์ : ถึงเวลาคืนอาวุธให้ประชาชน

คุยกับ ‘จอน อึ๊งภากรณ์’ ว่าด้วยแคมเปญ “ปลดอาวุธคสช.-ทวงคืนสถานการณ์ปกติ” พร้อมวิเคราะห์และคาดการณ์อนาคตสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

26 Jan 2018

Thai Politics

25 Jan 2018

101 Round table : อนาคตการเมืองไทยและประชาธิปไตยโลก

วงสนทนาเรื่องอนาคตการเมืองไทยและประชาธิปไตยโลก โดย เกษียร เตชะพีระ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ประจักษ์ ก้องกีรติ และปกป้อง จันวิทย์

ปกป้อง จันวิทย์

25 Jan 2018

Thai Politics

18 Jan 2018

จาก ‘ดาวดิน’ ถึง ‘ขบวนการอีสานใหม่’ : จนกว่าบ้านเมืองนี้จะเป็นของประชาชน

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล พาไปเยือน ‘บ้านดาวดิน’ พร้อมนั่งสนทนายาวๆ กับ กรชนก แสนประเสริฐ สมาชิกดาวดินรุ่นแรก และผู้ร่วมก่อตั้งขบวนการอีสานใหม่

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Jan 2018

Thai Politics

27 Dec 2017

บันทึก 2017 : ความหวังที่เคลื่อนไหวในความทรงจำ

ประจักษ์ ก้องกีรติ เขียนบันทึก 2017 ว่าด้วย ‘ความหวัง’ ที่เคลื่อนไหวในความทรงจำ จากป้ายรถเมล์กรุงเบอร์ลิน ถึงต้นมะขามสนามหลวง

ประจักษ์ ก้องกีรติ

27 Dec 2017

Thai Politics

26 Dec 2017

Democracy.Earth : ปฏิบัติการ ‘แฮ็ก’ ประชาธิปไตยครั้งใหม่ เพื่ออนาคตการออกเสียงทางการเมืองที่เราทุกคนมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง

สตาร์ทอัปหลายที่หาวิธีใช้บล็อกเชนเอามาสร้างธุรกิจแบบใหม่ๆ แต่ Democracy.Earth คิดไปไกลกว่านั้น ด้วยการคิดหาวิธีที่ทำให้ ‘ประชาธิปไตย’ ตรวจสอบได้ และสะท้อนความต้องการของประชาชนจริงๆ ผ่านคลิกเดียวบนหน้าจอ!

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

26 Dec 2017

Political Economy

25 Dec 2017

What is Populism? อะไรคือ “ประชานิยม” ในสากลโลก?

ใครเบื่อข้อถกเถียงว่าด้วย “ประชานิยม” แบบไทยๆ สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน What is Populism? ของ Jan-Werner Müller นักรัฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน หนังสือเล่มเล็กที่ตั้งคำถามว่าประชานิยมคืออะไร ประชานิยมฝ่ายขวาและประชานิยมฝ่ายซ้ายต่างกันอย่างไร วิถีการเมืองของนักการเมืองประชานิยมมีรูปแบบอย่างไร และประชานิยมสร้างสรรค์หรือทำลายประชาธิปไตยกันแน่

สฤณี อาชวานันทกุล

25 Dec 2017

Art & Design

15 Dec 2017

SOMETHING MISSING : ของหายไม่อยากได้คืน แต่ไม่อยากให้ ‘ลืม’

ชวนดูผลงาน Physical Theatre ชิ้นล่าสุดจากกลุ่มละคร B-Floor ที่แลกเปลี่ยนความคิด ไอเดีย ประสบการณ์ทำงานกับกลุ่มละครจากประเทศเกาหลีใต้ ภายใต้เสียงหัวเราะ ความหนักหน่วงถาโถมของท่วงท่าที่สื่อสารออกมาผ่านร่างกาย พวกเขาชวนย้อนคิดถึงบางสิ่งที่ ‘สูญหาย’ ไป แต่ยังทิ้งร่องรอยไว้แม้เราอยากจะลืม

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

15 Dec 2017
1 2 6

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017