fbpx

Politics

5 Apr 2024

การอารยะขัดขืนของเนติวิทย์กับกรณีต้านเกณฑ์ทหาร

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ เขียนถึงเหตุการณ์เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล อ่านแถลงการณ์ต่อต้านการบังคับเกณฑ์ทหาร เทียบกับหลักสันติวิธี

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์

5 Apr 2024

City

24 Jan 2024

สามชะตากรรมของสามร้านก๋วยเตี๋ยวในสามย่าน

พาท่องสามย่านสำรวจสามร้านก๋วยเตี๋ยวที่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนา เพื่อบันทึกประวัติศาสตร์ชุมชนในรูปแบบอาหาร

ภูมิยศ ลาภณรงค์ชัย

24 Jan 2024

101 in focus

13 Oct 2023

101 In Focus EP.199 เด็กจุฬาฯ รวยกว่าคนทั้งประเทศ?

ชวนทำความเข้าใจงานสำรวจต้นทุนครอบครัวนิสิตจุฬาฯ เพื่อตอบคำถามว่าจริงหรือไม่คนมีเงินเท่านั้นที่ได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยอันดับต้นของประเทศ

กองบรรณาธิการ

13 Oct 2023

Social Issues

9 Oct 2023

เด็กจุฬาฯ รวยกว่าคนทั้งประเทศจริงไหม?

ร่วมหาคำตอบจากคำพูดที่ว่า “เด็กจุฬาฯ เป็นเด็กบ้านรวย” ผ่านแบบสำรวจฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม และความเหลื่อมล้ำ ในนิสิตจุฬาฯ ปี 1 ปีการศึกษา 2566

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

9 Oct 2023

City

13 Jul 2023

คู่มือรู้ทันวาทกรรมไล่ที่: กรณีศึกษาศาลเจ้าแม่ทับทิมสะพานเหลือง

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ และ เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล ชวนมองวาทกรรมเกี่ยวกับการไล่ที่ซึ่งนายทุนใช้สร้างความชอบธรรมให้ตัวเอง ผ่านกรณีศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์

13 Jul 2023

Life & Culture

4 Jul 2023

“ผมลิมิตชีวิตตัวเองไว้แค่ 27 ปี” การเมืองของคนสามัญและการต่อสู้ไม่มีวันรู้จบของเนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

อ่านชีวิตและตัวตนของ ‘เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล’ กับ 8 ปีในรั้วจุฬาฯ และ 27 ปีแห่งการต่อสู้ในสายธารแห่งประชาธิปไตย

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

4 Jul 2023

Politics

19 Jun 2023

ทางสองแพร่งของประชาธิปไตยไทย

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์ เขียนถึงทางสองแพร่งประชาธิปไตยไทย จากข้อถกเถียงเรื่องการบริหารสมดุลของเสรีภาพเชิงลบกับเสรีภาพเชิงบวก สู่การปะทะกันระหว่างอุดมการณ์ ‘ประชาธิปไตยแบบร่วมไตร่ตรอง’ กับ ‘ประชาธิปไตยแบบถึงรากถึงโคน’ ดังที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

19 Jun 2023

Life & Culture

31 Mar 2023

บุรุษพึงพยายามเรื่อยไปจนกว่าจะสำเร็จประโยชน์ : บทเทศน์ของ ‘พระเนติวิทย์’ ถึง ‘ส.ศิวรักษ์’

บทเทศน์จาก ‘พระเนติวิทย์’ ถึง ‘ส.ศิวรักษ์’ ในวาระวันเกิดครบ 90 ปี ว่าด้วยเรื่องเส้นทางการต่อสู้และการยืนหยัดในคุณธรรมแม้เต็มไปด้วยขวากหนามในสังคม

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

31 Mar 2023

Life & Culture

21 Nov 2022

หม่อมราชวงศ์ปาณฑิตย์ โสณกุล: ปัญญาชนฝ่ายเจ้าผู้อาภัพ นักคิดเสรีนิยมปีกอนุรักษนิยม

ชวนทำความรู้จัก ม.ร.ว. ปาณฑิตย์ โสณกุล ลูกชายคนเดียวของพระองค์เจ้าธานีฯ ผู้มีฝีปากจัดจ้านและรักการลับคมทางความคิด

เสฏฐนันท์ ธนกิจโกเศรษฐ์

21 Nov 2022

Life & Culture

22 Jun 2022

อ่านประวัติศาสตร์ ‘สาธิตจุฬาฯ’ เรื่องเล่าลบเลือนของศิษย์เก่าผู้เกือบจะได้เป็นเจ้าฟ้า (?)

เรื่องเล่าการค้นหาประวัติการศึกษาที่หายไปของ หม่อมเจ้าวัชเรศร มหิดล (วัชเรศร วิวัชรวงศ์) พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในช่วงที่เคยศึกษาที่สาธิตจุฬาฯ

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

22 Jun 2022

Life & Culture

27 Apr 2022

โรงเรียนสวนหลวง: โรงเรียนที่ถูกลืมในหน้าประวัติศาสตร์พื้นที่จุฬาฯ

ในอดีตชุมชนสวนหลวง-สามย่าน เคยมีโรงเรียนประถมที่คนในชุมชนส่งลูกไปเรียน แต่จากการพัฒนาพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำให้โรงเรียนอายุ 74 ปีถูกยุบและแทนที่ด้วยตึกที่พักอาศัย

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

27 Apr 2022

Social Issues

24 Aug 2021

โรงเรียนที่ถูกลืม: สถาบันการศึกษา อัตลักษณ์ และเรื่องเล่า

มองการสร้างเรื่องเล่าแบบราชาชาตินิยมผ่านเรื่องเล่าของโรงเรียนหอวังและโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ยึดโยงเรื่องเล่าหลักอยู่ที่ความเกี่ยวพันกับสถาบันกษัตริย์ แต่กลับไม่เคยพูดถึงความเกี่ยวข้องกับโรงเรียนเล็กๆ อย่างโรงเรียนวัดหัวลำโพง

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

24 Aug 2021

Democracy

18 Nov 2020

เมื่อม็อบกับชีวิตคนรุ่นใหม่กลายเป็นเรื่องเดียวกัน

101 เก็บความจากงานเสวนา “ม็อบที่ไม่ใช่ม็อบ” รายงานผลสำรวจสถานการณ์การชุมนุมทางการเมืองไทยของคนรุ่นใหม่ในช่วงที่ผ่านมา โดยคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กองบรรณาธิการ

18 Nov 2020

Social Issues

7 May 2020

ระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนได้เรื่องจริงหรือ?

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และ สิทธิกานต์ ธีระวัฒนชัย เขียนถึงระเบียบใหม่เรื่องทรงผมนักเรียนที่คล้ายจะมีพัฒนาการในแง่บวก แต่ยังไม่ได้คำนึงถึงสิทธิเสรีภาพและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของนักเรียนอย่างแท้จริง

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

7 May 2020

World

4 May 2020

สองนักวิชาการ ‘อันตราย’ ที่จีนไม่อยากให้จำ

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล และศุภณัฐ อเนกนำวงศ์ เขียนถึง ‘จารึกหวัง กั๋วเหวย’ ที่มหาวิทยาลัยชิงหวา ศิลารำลึกนักวิชาการที่กลายเป็นสัญลักษณ์ของการไม่ยอมก้มหัวให้เผด็จการทางความคิด

เนติวิทย์ โชติภัทร์ไพศาล

4 May 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save