ข้างสนาม

27 Nov 2024

ถ้วยรางวัลเกี่ยวอะไรกับชัยชนะ?

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจที่มาของ ‘ถ้วยรางวัล’ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แห่งชัยชนะตั้งแต่อดีต แต่ถ้วยรางวัลกลับไม่ได้มีรูปร่างเป็น ‘ถ้วย’

เจนอักษร ธนวรสกุล

27 Nov 2024

ข้างสนาม

23 Oct 2024

สหรัฐอเมริกา ดินแดนที่ฟุตบอล ไม่ใช่ ‘Football’

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจที่มา ทำไมคนอเมริกันถึงเรียกกีฬา ‘ฟุตบอล’ ว่า ‘ซอคเกอร์’ และเหตุผลที่ทำให้คำว่า ‘ฟุตบอล’ ถูกใช้กับกีฬา ‘อเมริกันฟุตบอล’

เจนอักษร ธนวรสกุล

23 Oct 2024

ข้างสนาม

1 Oct 2024

‘วิ่ง’ กีฬาที่อยู่คู่กับอารยธรรมมนุษย์

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจประวัติศาสตร์ของกีฬา ‘วิ่ง’ และเรื่องราวของวิทยาศาสตร์การกีฬาที่ช่วยพัฒนาศักยภาพมนุษย์ให้ไปไกลกว่าเดิม

เจนอักษร ธนวรสกุล

1 Oct 2024

Presscast

2 Aug 2024

PRESSCAST EP.46 : ‘เพราะกีฬามีมากกว่าเรื่องของผลการแข่งขัน’ บทเรียนของชีวิตและวิธีคิดแบบคนบ้าบอล กับจิตกร ศรีคำเครือ

PRESSCAST EP.46 ชวนคุยกับ ยักษ์-จิตกร ศรีคำเครือ ถึงประสบการณ์การทำงานสื่อที่ผ่านมา ตลอดจนความท้าทายใหม่ของสื่อกีฬาในปัจจุบัน

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

2 Aug 2024

ข้างสนาม

18 Jul 2024

ทำไม ‘สับปะรด’ ถึงอยู่บนยอดถ้วยแชมป์วิมเบิลดัน?

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจที่มาว่าทำไมถ้วยรางวัลของการแข่งขันของกีฬาเทนนิสวิมเบิลดัน (Wimbledon) จึงมียอดเป็น ‘สับปะรด’

เจนอักษร ธนวรสกุล

18 Jul 2024

ข้างสนาม

18 Jun 2024

ฮากา (Haka) คืออะไร ทำไมต้องมาเต้นในสนามก่อนแข่ง?

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจ ‘ฮากา’ (HAKA) ซึ่งเป็นหนึ่งในวัฒนธรรรมหรือพิธีกรรมที่โดดเด่นก่อนการแข่งขันกีฬาของทีมรักบี้นิวซีแลนด์

เจนอักษร ธนวรสกุล

18 Jun 2024

ข้างสนาม

20 May 2024

เหรียญรางวัลเกิดขึ้นได้อย่างไร และทำไมแข่งชนะต้องได้เหรียญรางวัล

‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจที่มาว่าเหรียญรางวัลกับกีฬาเริ่มต้นขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไหร่ และทำไมชัยชนะถึงต้องคู่กับเหรียญทอง

เจนอักษร ธนวรสกุล

20 May 2024

ข้างสนาม

4 Mar 2024

ทำไมคำว่า ‘Love’ อาจไม่ได้หมายความว่ารักในกีฬาเทนนิส

คอลัมน์ใหม่ ‘ข้างสนาม’ ชวนสำรวจเรื่องราวเกี่ยวกับวัฒนธรรม สังคม และการเมืองผ่านกีฬาต่างๆ ประเดิมตอนแรกด้วยเรื่อง ทำไมคำว่า ‘Love’ อาจไม่ได้หมายความว่ารักในกีฬาเทนนิส และการนับสกอร์สุดแสน ‘ประหลาด’

เจนอักษร ธนวรสกุล

4 Mar 2024

Law

16 Jan 2024

วงการ E-Sport กับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ที่กฎหมายอาญาไทยยังไล่ตามไม่ทัน

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ ชวนมองกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรมในวงการอีปอร์ต เมื่อกฎหมายอาญาไทยมีช่องว่างที่ยังตามไม่ทันความเปลี่ยนแปลง

ดิศรณ์ ลิขิตวิทยาวุฒิ

16 Jan 2024

Life & Culture

24 Jul 2023

สหรัฐอเมริกา-รัสเซีย: จากคู่ปรับทางการเมืองสู่คู่ปรับในสนามกีฬา

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึง สหรัฐฯ-รัสเซีย สองชาติมหาอำนาจที่แข่งกันทั้งในสนามการเมืองและสนามกีฬา

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

24 Jul 2023

Life & Culture

19 Jul 2022

สวีเดน-ฟินแลนด์: ความแค้น 800 ปี ชำระวันนี้ก็ไม่สายไป

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา พาไปรู้จักประวัติศาสตร์ขัดแย้งของประเทศบ้านใกล้เรือนเคียงอย่าง ‘สวีเดน-ฟินแลนด์’

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

19 Jul 2022

Life & Culture

19 Oct 2021

นิวยอร์ก – บอสตัน: คู่ปรับตลอดกาล รากฐานจากยุคล่าอาณานิคม

คอลัมน์ The Rivalry เดือนนี้ สมศักดิ์ จันทวิชชประภา เขียนถึงคู่อริ นิวยอร์ก-บอสตัน เมืองที่ขัดแย้งกันตั้งแต่ยุคอาณานิคม และแข่งกันยิ่งใหญ่ผ่านโลกกีฬาในปัจจุบัน

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

19 Oct 2021

PopCapture

9 Aug 2021

โอลิมปิกและเหรียญรางวัล ทำไมการเป็นเจ้าเหรียญทองจึงอิงแอบกับประเทศมหาอำนาจ

เมื่อการเป็นเจ้าเหรียญทองโอลิมปิกไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่ฝีมือของนักกีฬา คอลัมน์ PopCapture พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึงปัจจัยด้านเศรษฐกิจและการสนับสนุนของภาครัฐ ตัวแปรสำคัญของการขึ้นเป็นประเทศเจ้าแห่งเหรียญทอง

พิมพ์ชนก พุกสุข

9 Aug 2021

Lifestyle

18 Jan 2021

แมนฯ ยูไนเต็ด vs ลิเวอร์พูล : คู่แข่งทางเศรษฐกิจที่กลายมาเป็นคู่ปรับตลอดกาล

คอลัมน์ The Rivalry – คู่ปรับแห่งโลกกีฬา : วิวัฒนาการสงครามตัวแทนของความขัดแย้งในอดีต ประเดิมตอนแรกว่าด้วยประวัติศาสตร์คู่แค้น แมนฯ ยู – ลิเวอร์พูล โดยสมศักดิ์ จันทวิชชประภา

สมศักดิ์ จันทวิชชประภา

18 Jan 2021

People

8 Jun 2020

เจอร์รี เคราส์ ชายผู้กลายเป็นตัวร้ายแห่ง The Last Dance

พิมพ์ชนก พุกสุข เขียนถึง เจอร์รี เคราส์ ผู้จัดการทั่วไปของทีมบาสเกตบอล ชิคาโก บูลส์ ‘ตัวร้าย’ ในสารคดี The Last Dance ชายที่มีส่วนสำคัญในชัยชนะและการสลายตัวของทีมบูลส์

พิมพ์ชนก พุกสุข

8 Jun 2020
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save