fbpx

Justice & Human Rights

27 Dec 2018

ความยุติธรรมไทย 2018 : ปีแห่งสิทธิมนุษยชน (แค่ในกระดาษ)

วจนา วรรลยางกูร ชวนมองย้อนไปในปี 2018 ที่ผ่านมา ผ่านบทความใน 101 ที่พูดถึงเรื่องความยุติธรรมในหลากหลายด้าน ทั้งในแง่กฎหมาย สิทธิมนุษยชน และกระบวนการยุติธรรม และพบว่าสิ่งที่ยังคงไม่หายไปคือการพยายามต่อสู้กับความไม่เป็นธรรมโดยภาคประชาชน

วจนา วรรลยางกูร

27 Dec 2018

Justice & Human Rights

26 Dec 2018

แลนด์มาร์คใหม่ หญิงไทยแห่เช็คอิน (เข้าคุก) จนล้น

คุณรู้หรือไม่ หญิงไทยคว้าแชมป์ อัตราการจำคุกในผู้หญิงสูงสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และยังมีอัตราการจำคุกผู้หญิงสูงที่สุด
ผู้ต้องขังหญิงส่วนมากจะกระทำความผิดในคดีที่เบากว่าผู้ชาย บางคนมียาเสพติดไว้เสพกับคู่ครอง หรือบางคนโดนร่างแหเพราะคู่ของตนมียาเสพติดไว้ในครอบครอง หรือกรณีที่เลวร้ายที่สุดคือ ผู้หญิงบางคนโดนหลอกในเรื่องยาเสพติด โดยที่พวกเธอไม่ได้รู้เรื่องอะไรด้วยเลย!!!

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Dec 2018

Media

21 Dec 2018

พี่ๆ ข่มขืนหนูซ้ำทำไม?

คุณว่าอะไรคือสิ่งที่ทำให้ผู้หญิงไม่กล้าเข้าสู่กระบวนการยุติธรรม? คุณเคยตั้งคำถามหรือมีอคติกับผู้ที่เป็นเหยื่อความรุนแรงทางเพศหรือเปล่า? ทำไม การถามเหยื่อว่า “ทำไมแต่งตัวแบบนั้น ถึงเป็นคำถามท่ี่ไม่ควรถาม?” การตั้งคำถามแบบไหน ที่ช่วยฟื้นฟูจิตใจเหยื่อ?

กองบรรณาธิการ

21 Dec 2018

Interviews

18 Dec 2018

‘ศักดิ์ดา แก้วบัวดี’ เพื่อนของผู้ลี้ภัย กับมนุษยธรรมในประเทศคนดี

วจนา วรรลยางกูร คุยกับ ศักดิ์ดา แก้วบัวดี นักแสดงที่หันมาทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ซึ่งเสี่ยงกฎหมายและต้องยืนรับก้อนอิฐจากคำวิจารณ์ว่าทำไมไม่ช่วยคนไทยก่อน คำตอบนั้นอาจเรียบง่ายถ้ามองจากหลักมนุษยธรรม

วจนา วรรลยางกูร

18 Dec 2018

Social Issues

14 Dec 2018

‘อุ้มหาย’ ไม่ใช่อาชญากรรม ‘ซ้อมทรมาน’ ไม่มีคนผิด

วจนา วรรลยางกูร พาไปทบทวนปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรุนแรงของเจ้าหน้าที่รัฐ เมื่อการซ้อมคนบริสุทธิ์ให้รับสารภาพทำให้ครอบครัวเหยื่อเหมือนตกนรกทั้งเป็น และการพรากพ่อไปจากครอบครัว ทำให้ภรรยาและลูกต้องต่อสู้ในกระบวนการยุติธรรมสิบกว่าปี ก่อนพบคำตอบว่าไม่พบผู้กระทำผิด

วจนา วรรลยางกูร

14 Dec 2018

Projects

12 Dec 2018

“ก็เธอไปหาเขาเอง” เมื่อเหยื่อถูกข่มขืนซ้ำในกระบวนการยุติธรรม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย ถ่ายทอดเรื่องราวสะเทือนใจของหญิงสาวที่ถูกละเมิดทางเพศ พร้อมชำแหละต้นตอของปัญหาที่เกิดจากมายาคติของสังคม และช่องโหว่ในกระบวนการยุติธรรม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Dec 2018

Projects

11 Dec 2018

ผู้หญิง แม่ และเด็ก: ‘เหยื่อ’ ที่ระบบยุติธรรมไทยมองไม่เห็น – ชลธิช ชื่นอุระ

คุยกับ ‘ชลธิช ชื่นอุระ’ ว่าด้วยโลกของเรือนจำหญิง และเหยื่อที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลัง ผ่านงานวิจัยที่เผยให้เห็นสภาวะปัจจุบันของ ‘ระบบยุติธรรมไทย’ ซึ่งมีทั้งช่องโหว่และโอกาส

สมคิด พุทธศรี

11 Dec 2018

Projects

4 Dec 2018

หยั่งราก Social Enterprise ด้วยระบบนิเวศที่ต้องสร้างร่วมกัน

กิจการเพื่อสังคมเป็นอีกเครื่องมือหนึ่งที่ใช้แก้ปัญหาสังคม แต่ในไทยมีความท้าทายที่ยังไม่สามารถประคองธุรกิจให้ยั่งยืนได้ จึงเกิดกฎหมายส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคมเพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการสร้างระบบนิเวศที่เหมาะสมในการเติบโตของกิจการเพื่อสังคม

วจนา วรรลยางกูร

4 Dec 2018

Spotlights

26 Nov 2018

Open Data และ AI กับก้าวใหม่ของการสร้างรัฐและสังคมที่ดีกว่า

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย เก็บความจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ว่าด้วยการใช้ Open Data และ AI ในการส่งเสริมและพัฒนากระบวนการยุติธรรม และการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

26 Nov 2018

Spotlights

20 Nov 2018

Open Data-AI เพิ่มอำนาจประชาชน เปิดช่องตรวจสอบด้วยข้อมูล

ความเห็นจากวงเสวนา ‘Open Data และ AI เพื่อความยุติธรรมที่ประชาชนมีส่วนร่วม’ ที่มุ่งศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคโนโลยีเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหาความยุติธรรมในสังคมไทย

วจนา วรรลยางกูร

20 Nov 2018

Projects

20 Nov 2018

เด็ก และ อาชญากรรมที่เกิดบนก้อนเมฆ

เมื่อคดีล่วงละเมิดทางเพศเด็กย้ายสถานที่เกิดเหตุไปอยู่บนอินเทอร์เน็ต โดยมีผู้กระทำผิดเป็นคนที่เด็กและครอบครัวไว้ใจ เส้นทางการสืบสวนจะปรับเปลี่ยนให้เท่าทันภัยยุคดิจิทัลอย่างไร

ศุภาวรรณ คงสุวรรณ์

20 Nov 2018

Spotlights

5 Nov 2018

Blockchain เพื่อความโปร่งใส: เราทำอะไรได้บ้าง

‘Blockchain’ ในฐานะเทคโนโลยีที่จะเข้ามาเปลี่ยนโฉมอนาคต ด้วยคุณลักษณะเด่นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง สามารถย้อนกลับไปตรวจสอบความโปร่งใสได้ เทคโนโลยีนี้จึงเริ่มถูกนำมาใช้ประโยชน์กับเรื่องอื่นๆ นอกเหนือจากโลกการเงินด้วย

กองบรรณาธิการ

5 Nov 2018

Spotlights

26 Oct 2018

การใช้ ‘Blockchain’ เพื่อความโปร่งใส : ตัวอย่างในต่างประเทศ และความเป็นไปได้ในไทย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล เก็บความจากวงเสวนาโต๊ะกลม หัวข้อ ‘เทคโนโลยี Blockchain เพื่อความโปร่งใสและความรับผิดชอบ’ ซึ่งภาคส่วนต่างๆ มาระดมสมองกันหาคำตอบดังกล่าว ว่าด้วยการใช้ Blockchain ในกระบวนการยุติธรรม

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

26 Oct 2018

Interviews

16 Jul 2018

สมพร เพ็งค่ำ : เสียงของชุมชนกับผลกระทบเรื่องสุขภาพ

คุยกับ สมพร เพ็งค่ำ ผู้ทำงานกับชุมชนด้านปัญหาสุขภาพจากสิ่งแวดล้อม “ความรู้ของชุมชนก็เป็นความรู้หนึ่งที่เสมอภาคเทียบเท่ากับความรู้ของผู้เชี่ยวชาญ”

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

16 Jul 2018
1 17 18

MOST READ

Asean

1 Apr 2024

“ผมต้องละทิ้งชีวิตทั้งหมดแล้วหนีมา” เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 คุยกับคนพม่าที่ลี้ภัยเข้าไทยหลังจากที่พม่าบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร และสำรวจสถานการณ์ภาพรวมที่คนพม่าต้องเผชิญภายใต้กฎหมายดังกล่าว

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 Apr 2024

101 in focus

12 Apr 2024

101 In Focus EP.223: เปิดใจคนพม่าลี้ภัยเข้าไทย หลังบังคับใช้กฎหมายเกณฑ์ทหาร

101 In Focus สัปดาห์นี้ ชวนเจาะลึกเรื่องชีวิตผู้ลี้ภัยชาวพม่าที่หลบหนีเข้าไทย ว่าต้องเผชิญความยากลำบากอย่างไรจากแนวทางการจัดการเรื่องผู้ลี้ภัยของไทยที่มักถูกตั้งคำถาม เรื่องราวเหล่านี้สะท้อนการกระทำของกองทัพพม่าที่ลิดรอนสิทธิเสรีภาพพลเมืองอย่างไร และไทยควรทำอย่างไรในการเตรียมรับมือสถานการณ์ผู้ลี้ภัยระลอกใหม่ที่กำลังเข้ามา

กองบรรณาธิการ

12 Apr 2024

101PUB

11 Apr 2024

โกงเอง จับเอง นักเลงพอ: การทุจริตในกระบวนการยุติธรรมไทย

TIJ และ 101 PUB ชวนผู้อ่านสำรวจปัจจัยค้ำจุนการทุจริตในกระบวนการยุติธรรมไทย และค้นหาคำตอบว่าเหตุใดการแก้ปัญหายังไม่ประสบความสำเร็จเสียที

รัชพงษ์ แจ่มจิรไชยกุล

11 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save