fbpx

World

6 Aug 2021

โบโกต้า, โคลอมเบีย: ประวัติศาสตร์การพัฒนาพื้นที่สาธารณะตามแนวคิดของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ เขียนถึงแนวคิดเรื่องพื้นที่สาธารณะ ของเยอร์เก้น ฮาเบอร์มาส ซึ่งมีส่วนสำคัญในนโยบายการพัฒนาพื้นที่สาธารณะซึ่งถูกนำมาใช้พัฒนาเมืองโบโกต้า ประเทศโคลอมเบีย

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

6 Aug 2021

Global Affairs

5 Aug 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 1)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ชวนอ่านแนวคิด ‘ความมั่นคงเชิงภวสภาพ’ ที่มองว่าปัญหาความมั่นคงของรัฐเชื่อมโยงกับแผลในใจของสังคมที่รู้สึกว่าเกียรติภูมิของประเทศชาติบ้านเมืองของตนถูกกระทบกระทั่งโดยอำนาจภายนอกที่เหนือกว่าเข้ามาบังคับ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

5 Aug 2021

Sustainability

5 Aug 2021

เชื้อเพลิงไฮโดรเจน 101 : ประวัติที่ยาวนาน อุปสรรคของเมื่อวาน และอนาคตที่สดใส

พรพรหม วิกิตเศรษฐ์ ชวนมองปัจจัยที่จะทำให้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนเข้ามามีบทบาททดแทนพลังงานชนิดอื่นได้ด้วยแรงผลักดันหลายด้าน

พรพรหม วิกิตเศรษฐ์

5 Aug 2021

Life & Culture

4 Aug 2021

อะไรคือโกมล คีมทอง

กษิดิศ อนันทนาธร เล่าเรื่องราวชีวิตของโกมล คีมทอง ครูหนุ่มผู้เปี่ยมไปด้วยอุดมคติในการสร้างการศึกษาที่ดีและทำประโยชน์แก่สังคมไทย

กษิดิศ อนันทนาธร

4 Aug 2021

Economy

4 Aug 2021

ความเหลื่อมล้ำโลก (Global Inequality) และการเปลี่ยนแปลงหลังโควิด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์ พามองพัฒนาการการเปลี่ยนของความเหลื่อมล้ำโลก (Global Inequality) พร้อมมองอนาคตความเหลื่อมล้ำโลกหลังโควิด

วรรณพงษ์ ดุรงคเวโรจน์

4 Aug 2021

World

4 Aug 2021

แด่มัลคอล์ม เพื่อนผู้เป็นทั้งฝ่ายซ้ายและคนเวร

คอลัมน์ ‘ช่วยด้วยเพื่อนฉันเป็นฝ่ายซ้าย’ ตอนใหม่ พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง เขียนถึง ‘มัลคอล์ม’ เพื่อนฝ่ายซ้ายผู้เชื่อว่าความสัมพันธ์แบบ polyamory คือรูปแบบความสัมพันธ์ที่เหมาะกับยุคทุนนิยมตอนปลาย รักการสัก (ทั้งตัวเองและคนอื่น) เป็นชีวิตจิตใจ และมักจะอวดอ้างเสมอว่าตัวเองมีวัยเด็กที่ ‘ใกล้ชิดกับพระเจ้า’ (?!)

พลอยใจ ปิ่นตบแต่ง

4 Aug 2021

Life & Culture

3 Aug 2021

จาก ‘ฟ้าทะลายโจร’ ถึง ‘Memoria’ : สองทศวรรษเส้นทางหนังพันธุ์ไทยในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ 2001-2021

ในวาระอันดีที่ Memoria ของอภิชาติพงศ์ วีระเศรษฐกุล คว้ารางวัล Jury Prize จากเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์ครั้งที่ 74 ‘กัลปพฤกษ์’ ชวนย้อนทวนเส้นทางกว่าสองสองทศวรรษ ของ ‘หนังไทย’ และ ‘หนังพันธุ์ไทย’ ในเทศกาลภาพยนตร์เมืองคานส์

‘กัลปพฤกษ์’

3 Aug 2021

Thai Politics

3 Aug 2021

‘อำนาจท้องถิ่น’ ความสลับซับซ้อนและคลุมเครือในรัฐไทยพันลึก

คอลัมน์ ‘ไทยไม่ใช่กรุงเทพฯ’ เดือนนี้ ณัฐกร วิทิตานนท์ อธิบายให้เห็นหลักคิดในการจัดแบ่งภารกิจหน้าที่ระหว่างส่วนกลางกับท้องถิ่น และแหล่งที่มาทางอำนาจขององค์กรปกครองท้องถิ่น ทั้งในต่างประเทศและของไทย

ณัฐกร วิทิตานนท์

3 Aug 2021

Public Policy

2 Aug 2021

ร่าง พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ… : ทางเลือกนโยบายใหม่ที่แย่กว่านโยบายเดิม

วงอร พัวพันสวัสดิ์ เขียนถึง ร่าง พ.ร.บ. การศึกษาฯ ฉบับใหม่ที่อาจเป็นทางเลือกทางนโยบายที่ควรตกไป เพราะสร้างต้นทุนในการปฏิบัติตามกฎหมายที่สูงกว่า พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ 2542 ขาดการแสวงหาแนวร่วมและการยอมรับที่กว้างขวาง รวมทั้งชวนตั้งคำถามว่า การออกกฎหมายใหม่คือหนทางเดียวในการปฏิรูปการศึกษาเรียนรู้หรือไม่?

วงอร พัวพันสวัสดิ์

2 Aug 2021

Books

1 Aug 2021

We Should all go to hell กับความสัมพันธ์ อาการเสื่อมสมรรถภาพ และการเขียนนิยายสักเรื่องหนึ่ง

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนวิจารณ์กลวิธีการเล่าเรื่องของวรรณกรรมร่วมสมัย ใน ‘We Should all go to hell เราทุกคนควรลงนรก’ ของ บริษฎร์ พงศ์วัชร์ พร้อมทั้งชวนวิเคราะห์ ‘ปมออดิปุส’ ปมปัญหาสำคัญที่มีเรื่องราวมากกว่าแค่อาการจู๋ไม่แข็ง!

อาทิตย์ ศรีจันทร์

1 Aug 2021

Thai Politics

28 Jul 2021

ความตกต่ำของภาพลักษณ์ของทหาร

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงภาพลักษณ์ของกองทัพไทยที่ตกต่ำลงเรื่อยๆ นับตั้งแต่รัฐประหารปี 2557 ด้วยเรื่องอื้อฉาวที่มีมาต่อเนื่อง

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

28 Jul 2021
1 25 26 27 39

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save