fbpx

Life & Culture

15 Sep 2021

‘มะนิลาซาวด์’ แนวเพลงไร้อารยะสู่วัฒนธรรมป็อปฟิลิปปินส์

มัธธาณะ รอดยิ้ม ชวนทำความรู้จักแนวเพลง ‘มะนิลาซาวด์’ เพลงที่อิงอยู่กับภาษาของชนชั้นล่างและพัฒนาจนมาเป็นเพลงป็อปของฟิลิปปินส์ได้

มัธธาณะ รอดยิ้ม

15 Sep 2021

Film & Music

15 Sep 2021

ซาวปีที่คิดถึง ‘จรัล มโนเพ็ชร’ คำเมืองและความหวังที่ค่อยๆ หายไป

คอลัมน์ สารกันเบื่อ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง รำลึก 20 ปี ‘จรัล มโนเพ็ชร’ ผู้สร้างปรากฏการณ์ ‘โฟล์กซองคำเมือง’ พาวัฒนธรรมล้านนาฝ่าวงล้อมวัฒนธรรมกระแสหลักจนครองใจคนกรุงและคนทั่วประเทศได้ จนมาถึงในวันที่การ ‘อู้กำเมือง’ และวัฒนธรรมท้องถิ่นค่อยๆ อ่อนแรงลง

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

15 Sep 2021

Life & Culture

14 Sep 2021

เฟซบุ๊กขอลองตลาด Smart Glass กับคำถามว่าแล้วเราจะเชื่อเฟซบุ๊กได้จริงหรือ?

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึง Ray-Ban Stories เทคโนโลยี smart glass แว่นตาที่ถ่ายรูป อัดวิดีโอ และฟังเพลงได้ จากค่ายเฟซบุ๊กที่ร่วมมือกับเรย์แบน ซึ่งยังมีข้อถกเถียงเรื่องความเป็นส่วนตัวของคนในสังคม

โสภณ ศุภมั่งมี

14 Sep 2021

Human & Society

13 Sep 2021

อนาคตมานุษยวิทยา-มานุษยวิทยาอนาคต: มองก้าวต่อไป โลกใหม่ ‘มานุษยวิทยา’

101 ร่วมกับศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ชวนเปิดขอบฟ้ามานุษยวิทยาไปสู่อนาคตกับ นพ.โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, รศ.ดร.เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, รศ.ดร.จักรกริช สังขมณี และ ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ ว่าด้วยศักยภาพของมานุษยวิทยาในการสรรสร้างสังคมในอนาคตและความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในศาสตร์มานุษยวิทยา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

13 Sep 2021

policy praxis

13 Sep 2021

รัฐที่ไม่ (ต้อง) พัฒนา เพราะใช้งานอาสาเป็นเกราะกำบัง

ฉัตร คำแสง และเชษฐพันธุ์ ใจเปี่ยม เล่าถึงประเทศไทยที่มักมีเอกชนเข้ามาอาสาจัดการปัญหาแทนรัฐ แต่อีกด้านก็ทำให้ประสิทธิภาพของภาครัฐย่ำแย่ลง

ฉัตร คำแสง

13 Sep 2021

Politics

12 Sep 2021

อย่าประเมินสันติวิธีบวกเกินไป อย่าประเมินความรุนแรงลบเกินไป

สมชาย ปรีชาศิลปกุล ชวนคิดเรื่องวิธีการมองสันติวิธีในไทย และปัจจัยที่จะทำให้การเคลื่อนไหวแบบไม่ใช้ความรุนแรงมีความหมาย

สมชาย ปรีชาศิลปกุล

12 Sep 2021

World

10 Sep 2021

นโยบายในการจัดการกับปัญหาความรุนแรงในเขตเมือง: บทเรียนจากลาตินอเมริกา

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์ ถอดบทเรียนงานศึกษาจากลาตินอเมริกา มองแนวทางการจัดการปัญหาความรุนแรงในพื้นที่เขตเมือง

เชาวฤทธิ์ เชาว์แสงรัตน์

10 Sep 2021

Politics

9 Sep 2021

ตามแนวคิด-ต่อทฤษฎี จากงานการต่างประเทศไทยของพีระ เจริญวัฒนนุกูล (ตอนที่ 2)

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ชวนอ่านหนังสือของพีระ เจริญวัฒนนุกูลว่าด้วยการตีความนโยบายต่างประเทศไทยในสงครามโลกที่สองใหม่ ซึ่งมีปมทางจิตวิทยาเป็นปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญ

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

9 Sep 2021

Human & Society

9 Sep 2021

อาหารจานด่วน (ก) ‘จานด่วน’ ที่มาก่อน ‘ฟาสต์ฟู้ด’

นิติ ภวัครพันธุ์ เขียนถึง ที่มาและพัฒนาการของ ‘อาหารจานด่วน’ ที่เดินทางไปค่อนโลกผ่านผู้อพยพชาวจีน รวมทั้งอิทธิพลของอาหารจานด่วนแบบจีนๆ ที่ผสมผสานกับวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่นจนกลายเป็นอาหารจานด่วนที่ถูกปากผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ

นิติ ภวัครพันธุ์

9 Sep 2021

World

8 Sep 2021

“การลงทุนมีความเสี่ยง” เหตุไฉน จีนถึงกล้าลงทุนในอัฟกานิสถาน?

วันมิ่งขวัญ กำเนิดรัตน์ วิเคราะห์ว่าทำไมจีนถึงกล้าลงทุนในอัฟกานิสถานที่ไม่มีเสถียรภาพ และการกลับมาของตาลีบันจะส่งผลต่อการลงทุนของจีนอย่างไร

วันมิ่งขวัญ กำเนิดรัตน์

8 Sep 2021

Economy

7 Sep 2021

คนจนอยู่ไหน? ส่องดาต้าใหม่ๆ ในการตามหาคนจนยามวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด พาไปทำความรู้จักนวัตกรรมการเก็บข้อมูล วัดความยากจนรูปแบบใหม่ๆ เพื่อพัฒนานโยบายช่วยคนจนให้ตอบโจทย์และครอบคลุมมากขึ้นในช่วงวิกฤต

ภัทชา ด้วงกลัด

7 Sep 2021

Spotlights

6 Sep 2021

ความน่าจะอ่าน 2021 : The Finalists (ตอนที่ 1)

รายชื่อหนังสือ Finalists ‘ความน่าจะอ่าน 2021’ ชุดที่ 1 จาก 20 คนที่เลือกหยิบหนังสือที่คิดว่าน่าอ่าน น่าละเลียด พร้อมเหตุผลว่าทำไมเราจึง ‘น่าจะอ่าน’ หนังสือเล่มนี้

กองบรรณาธิการ

6 Sep 2021
1 22 23 24 38

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save