fbpx

Social Issues

20 Dec 2022

รถเมล์ขาดช่วง? คนเลิกใช้รถโดยสาร? : สองเดือนหลังเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ เรามาถูกทางแล้วหรือยัง

กว่าสองเดือนที่ผ่านมานี้ แผนการเปลี่ยนสัมปทานรถเมล์ยังคงขลุกขลักอยู่ไม่น้อย นำมาสู่คำถามสำคัญคือ ปลายทางของการเปลี่ยนผ่านระบบขนส่งมวลชนจะเป็นอย่างไร อีกนานแค่ไหนกว่าที่จะลงตัว เพราะไม่ว่าจะอย่างไร ประชาชนคือผู้ได้รับผลกระทบนี้ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งอยู่ดี

กอบบุญ บูรโชควิวัฒน์

20 Dec 2022

Social Issues

4 Aug 2021

“เหมือนฟ้าผ่า แล้วห่าลงซ้ำ” สำรวจสุขภาพจิตคนไทยยุคโควิด

101 คุยกับศรีอรุณ ธนะรัชติการนนท์ ผู้อำนวยการสมาคมสะมาริตันส์แห่งประเทศไทย สายด่วนป้องกันการฆ่าตัวตาย, ดร.ธนิสา ทวิชศรี นักวิจัยสถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์ ผู้ทำวิจัยเรื่องปัญหาสุขภาพจิตในช่วงโควิด และธันยะมัย ชูอิฐจีน เพื่อนของผู้เลือกจบชีวิตในช่วงโควิด เพื่อฉายภาพสุขภาพจิตคนไทยในยุคโควิด

กองบรรณาธิการ

4 Aug 2021

Social Issues

2 Aug 2021

‘เส้นด้าย’ กับคำเตือนก่อนสาธารณสุขจะล่มสลาย

101 ชวนฟังเสียงของ ‘เส้น-ด้าย’ อาสาด่านหน้าสู้โควิด ในภาวะวิกฤตที่ประชาชนต้องช่วยเหลือกันเอง ระบบราชการมีปัญหาอย่างไร ทางออกของวิกฤตนี้อยู่ตรงไหน

กองบรรณาธิการ

2 Aug 2021

Media

22 Jul 2021

เมื่อ ‘ชุดตรวจโควิด’ ไม่ได้มีไว้สำหรับทุกคน

101 พูดคุยกับนิมิตร์ เทียนอุดม คณะทำงานโควิดชุมชน และกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ว่าด้วยสาเหตุที่ทำให้ชุดตรวจโควิดมีราคาแพง ตลอดจนวิพากษ์การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตของภาครัฐ

กองบรรณาธิการ

22 Jul 2021

Social Issues

6 Jul 2021

เปิดโรงเรียนอีกครั้งดีไหม? เปิดงานวิจัยการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในสถานศึกษา

101 ชวนอ่านงานวิจัยสำรวจการแพร่ระบาดของโควิด-19 ของ UNICEF ตอบคำถามว่าการเรียนในโรงเรียนสัมพันธ์กับการระบาดของโควิด-19 จริงหรือ

กรกมล ศรีวัฒน์

6 Jul 2021

Bite-Sized Clip

8 Jun 2021

ขับต่อหรือพักก่อน : เสียงจากแท็กซี่ในโควิดระลอกสาม

101 ลงพื้นที่สัมภาษณ์คนขับแท็กซี่ถึงผลกระทบหลายด้าน ฟังความเห็นของพวกเขาในฐานะผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง และเป็นหนึ่งในอาชีพที่น่าจะได้รับฟังปัญหาของผู้คนจากผู้โดยสารมากหน้าหลายตา

กองบรรณาธิการ

8 Jun 2021

Health

7 Jun 2021

จากหนึ่งหมื่นถึงหนึ่งร้อยล้าน (โดส)

ประชาชนกว่าหนึ่งหมื่นคนทยอยเข้ารับการฉีดวัคซีนที่สถานีกลางบางซื่อเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2564 หลังรัฐบาลประกาศเป็นวันแรกของการฉีดวัคซีนปูพรม โดยวางแผนว่าในระยะหลังคิกออฟนับตั้งแต่ 7 มิถุนายน – 31 สิงหาคม

กองบรรณาธิการ

7 Jun 2021

Politics

31 May 2021

โควิด-19 ความเหลื่อมล้ำ และสิทธิเสรีภาพในการเข้าถึงข้อมูลสาธารณะ

พรรษาสิริ กุหลาบ เขียนถึงการรายงานของสื่อในยุคโควิด-19 ผ่านกรณีสื่อสหรัฐฯ ที่นอกจากจะทำหน้าที่บอกเล่าสถานการณ์ที่เกิดขึ้นแล้ว ยังสะท้อนให้เห็นปัญหาความเหลื่อมล้ำในสังคมและในระบบสาธารณะสุขด้วย

พรรษาสิริ กุหลาบ

31 May 2021

Bite-Sized Clip

21 May 2021

โรคร้ายในแดนสนธยา : คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข เมื่อเรือนจำติดเชื้อ

101 คุยกับ สมยศ พฤกษาเกษมสุข นักกิจกรรมการเมือง ถึงปัญหาโรคระบาดในเรือนจำ ในฐานะที่เขาเพิ่งก้าวออกจากเรือนจำในช่วงเดือนที่ผ่านมา เมื่อโควิดเข้ามารื้อปัญหาที่ถูกซุกซ่อนไว้ ทำให้ชวนพิจารณาถึงการดูแลคุณภาพชีวิตของนักโทษ อันคำนึงถึงสิทธิขั้นพื้นฐานที่เขาควรได้รับในฐานะมนุษย์

กองบรรณาธิการ

21 May 2021

Life & Culture

31 Mar 2021

อ่านประวัติศาสตร์การคิดค้นวัคซีน ก่อนที่โลกจะรู้จัก ‘เชื้อโรค’

นพ.สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์ พาไปรู้จักวัคซีนในประวัติศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับวิทยาศาสตร์ ธุรกิจ และการเมือง ก่อนที่โลกจะรู้จักเชื้อโรคและโควิด-19

สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์

31 Mar 2021

Life & Culture

16 Mar 2021

ฆ่าตัวตายช่วงโควิด: ดัชนีความใส่ใจในความผาสุกของผู้คน

นิติ ภวัครพันธุ์ ชวนทบทวนเรื่องการฆ่าตัวตายที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของโควิด 19 ผ่านกรณีศึกษาและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในบางประเทศ และย้อนกลับมาตั้งคำถามต่อสังคมไทยและรัฐ ว่าการฆ่าตัวตายเป็นความรับผิดชอบของส่วนรวมที่จะต้องใส่ใจอย่างจริงจังไม่ใช่หรือ?

นิติ ภวัครพันธุ์

16 Mar 2021

Documentary

4 Mar 2021

“ไม่อยากได้เงิน ฉันอยากได้งาน” ความในใจของคน (เพิ่ง) ไร้บ้าน

101 ชวนรับฟังเสียงแห่งความเจ็บปวดของคน (เพิ่ง) ไร้บ้าน อะไรคือสิ่งที่พวกเขาต้องการที่สุดในวันที่โรคระบาดพลิกชีวิตเขาจากหน้ามือเป็นหลังมือเช่นนี้

นภสินธุ์ สามแก้วแจ่ม

4 Mar 2021
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save