fbpx

Economic Focus

18 Jun 2017

หนึ่งวันใน E-stonia

ปกป้อง จันวิทย์ เล่าประสบการณ์หนึ่งวันกับ Viljar Lubi รัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจดิจิทัลของเอสโตเนีย อะไรคือบทเรียนเรื่อง E-Estonia ที่เขาได้รับจากรัฐมนตรีหนุ่มจากประเทศเล็กๆ ในยุโรป ที่มีประชากรเพียง 1.3 ล้านคน แต่โด่งดังทั่วโลกในฐานะประเทศอันดับหนึ่งด้านเศรษฐกิจผู้ประกอบการและต้นแบบของรัฐบาลดิจิทัล

ปกป้อง จันวิทย์

18 Jun 2017

Economic Focus

13 Jun 2017

วิเคราะห์ระดับความขัดแย้งทางการเมืองไทยด้วย Big Data

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดพรมแดนความรู้ใหม่ทางเศรษฐศาสตร์และการเมือง ใช้ Big Data จาก The GDELT Project นำข้อมูลรายงานข่าวตั้งแต่ปี 2522-2560 มาวัดระดับความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศไทย และผลกระทบของความไม่แน่นอนทางการเมืองต่อเศรษฐกิจไทย

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

13 Jun 2017

Economic Focus

1 Jun 2017

วิรไท สันติประภพ : ความท้าทายของเศรษฐกิจไทยในโลก VUCA

วิรไท สันติประภพ ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย คุยกับ ปกป้อง จันวิทย์ บรรณาธิการ The101.world เรื่องความท้าทายของเศรษฐกิจไทย ในโลกที่เต็มไปด้วยความผันผวน ความไม่แน่นอน ความซับซ้อน และความคลุมเครือ

ปกป้อง จันวิทย์

1 Jun 2017

Business

23 May 2017

ธุรกิจประกันเอาเปรียบผู้บริโภคจริงหรือ?

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ ไขข้อข้องใจเกี่ยวกับธุรกิจประกัน ทำไมค่าเบี้ยประกันถึงมีราคาแพง และแนวทางให้เบี้ยประกันถูกลงทำได้อย่างไรบ้าง

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

23 May 2017

Political Economy

22 May 2017

The Rise and Fall of Nations

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “The Rise and Fall of Nations” ของ Ruchir Sharma แห่ง Morgan Stanley Investment Management ค้นหาคำตอบกันว่า กฎจำง่าย 10 ข้อ เพื่อประเมินแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศในยุค 4Ds มีอะไรบ้าง

สฤณี อาชวานันทกุล

22 May 2017

Political Economy

15 May 2017

ข้ามพ้น ‘คนดี’ เสียทีดีไหม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนคิดเรื่องสำคัญในการศึกษาสังคมศาสตร์ ว่าเราจะสามารถทำความเข้าใจประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ต่างๆ ในโลกได้ดีที่สุดด้วย “หน่วย” (unit of analysis) อะไร

หน่วยมองโลกแบบ “ปัจเจกนิยม” ที่คล้ายเป็น default mode ของสังคมไทย มีจุดแข็งและจุดอ่อนอย่างไร และส่งผลอย่างไรในการตีความอดีต การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน และการออกแบบอนาคต

เรามาข้ามพ้น “คนดี” เสียทีดีไหม?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

15 May 2017

Economic Focus

8 May 2017

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วย “ความไม่แน่นอน”

New Normal ของเศรษฐกิจโลกยุคใหม่เต็มไปด้วย “ความไม่แน่นอน” สะท้อนผ่านหลายนโยบายเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น แนวโน้มเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปจาก Brexit หรือแนวทางการบริหารนโยบายของสหรัฐอเมริกายุคโดนัลด์ ทรัมป์

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะพาไปดู “หน้าตา” ของสภาวะ “ความไม่แน่นอน” ที่กำลังเกิดขึ้นในโลก – นักวิชาการเศรษฐศาสตร์พยายามวัด “ความไม่แน่นอน” อย่างไร และอะไรคือผลกระทบของมันต่อระบบเศรษฐกิจ

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

8 May 2017

Economy

3 May 2017

When Saturday comes : การถ่ายทอดฟุตบอลกับความเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและวัฒนธรรมลูกหนัง

ตฤณ ไอยะรา นักเศรษฐศาสตร์การเมืองที่จดจำชื่อนักเตะ ผู้จัดการ และประวัติศาสตร์ฟุตบอล ได้แม่นกว่าทฤษฎีเศรษฐศาสตร์และประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ จะเล่าให้คุณฟังว่า การถ่ายทอดเกมการแข่งขันขยายขอบฟ้าทาง “กาละ” และ “เทศะ” ของเกมลูกหนังในสนาม และสร้างแรงสั่นสะเทือนต่อโลกฟุตบอลอย่างไร

ตฤณ ไอยะรา

3 May 2017

Political Economy

24 Apr 2017

Global Inequality

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด

ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Apr 2017

Economic Focus

18 Apr 2017

ฉันเกิดและโตท่ามกลางวิกฤต ‘ต้มยำกุ้ง’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล กองบรรณาธิการ 101 เล่าประสบการณ์ชมนิทรรศการ “ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน” ที่มิวเซียมสยามจัดทำขึ้นในวาระครบรอบ 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง – วิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดของสังคมเศรษฐกิจไทยนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา

แฟลชแบ็คกลับไปเมื่อปี 2540 พันธวัฒน์มีอายุได้เพียง 6 ปีเท่านั้น “ต้มยำกุ้งวิทยา” ทำให้เขามองเห็นภาพความทรงจำอะไรในชีวิตของตัวเองและชีวิตของสังคมไทยบ้าง เหมือนหรือต่างกับประสบการณ์ของคุณผู้อ่านอย่างไร อ่านแล้วมาคุยกันครับ!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Apr 2017

Political Economy

17 Apr 2017

ทำไมบอลพรีเมียร์ลีกสนุก แต่ทีมชาติอังกฤษล้มเหลว: มองโมเดลทุนนิยมผ่านโลกฟุตบอล

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนดูฟุตบอล แล้วย้อนดูทุนนิยม วิถีฟุตบอลอังกฤษและเยอรมนีสอนเราเรื่องทางเลือกและความหลากหลายของระบบทุนนิยมอย่างไร หาคำตอบได้จากข้อเขียนอ่านสนุกชิ้นนี้

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Apr 2017

Trends

13 Apr 2017

เปิดเคล็ดลับแผนธุรกิจปฏิวัติโลก

เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวไม่สามารถปฏิวัติโลกแห่งธุรกิจ หรือช่วย ‘ยักษ์ใหม่’ ล้ม ‘ยักษ์ใหญ่’ ได้

‘แผนธุรกิจ’ หรือ Business Plan ต่างหากที่มีความสำคัญ อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์ เปิดผลการศึกษาของทีมนักวิจัยมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ เผยเคล็ดลับหกประการของแผนธุรกิจระดับปฏิวัติโลก

อิสริยะ สัตกุลพิบูลย์

13 Apr 2017

Economic Focus

10 Apr 2017

เปิดตำนานธนบัตรไทย : เรื่องที่คุณไม่เคยรู้

รู้หรือไม่ว่าธนบัตรที่เราใช้กันจนคุ้นเคยอยู่ทุกวันมีที่มาอย่างไร รู้หรือไม่ว่าในอดีตทำกันอย่างไรให้คนไทยยอมรับและหันมาใช้เงินกระดาษเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน รู้หรือไม่ว่าทำไมธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของไทยจึงชื่อว่า ‘บุคคลัภย์’ (Book Club) และการตั้งธนาคารพาณิชย์เกี่ยวพันกับการตั้งธนาคารชาติอย่างไร

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนหนังสือ 72 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์เบื้องหลังความสำเร็จของการเสกกระดาษให้เป็นเงิน ผ่านเรื่องราวของบิดาแห่งการธนาคารไทย

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

10 Apr 2017

Law

5 Apr 2017

การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้า : ความหวังใหม่ของสังคมไทย?

ใครๆ ก็รู้สึกว่าเศรษฐกิจไทยเต็มไปด้วยการผูกขาด ประสบการณ์ถูกเอาเปรียบในฐานะผู้บริโภคก็เคยโดนเข้ากับตัวกันทั้งนั้น แต่เชื่อหรือไม่ว่า ตั้งแต่กฎหมายแข่งขันทางการค้าถูกบังคับใช้ในปี 2542 ยังไม่เคยมีผู้ประกอบธุรกิจถูกลงโทษแม้แต่รายเดียว!

เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2560 มีการแก้ไขกฎหมายแข่งขันทางการค้าให้มีเขี้ยวเล็บในการสร้างความเป็นธรรมในการแข่งขัน และลงมือจัดการผู้ผูกขาดที่ใช้อำนาจในทางที่ผิดได้มากขึ้น

กนกนัย ถาวรพานิช อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ผู้ร่ำเรียนเขียนอ่านด้านกฎหมายแข่งขันทางการค้ามาอย่างต่อเนื่อง ชวนสำรวจประเด็นสำคัญของกฎหมายฉบับใหม่ และตอบคำถามว่า ทำอย่างไรให้การปฏิรูปกฎหมายแข่งขันทางการค้าในครั้งนี้เป็นความหวังใหม่ของสังคมไทยได้อย่างแท้จริง

กนกนัย ถาวรพานิช

5 Apr 2017
1 36 37 38

RECOMMENDED

Economic Focus

24 Apr 2024

ดิจิทัลแบบใด? แกะไส้ในงบประมาณตามแผนดิจิทัล

WeVis ร่วมกับ 101PUB ชวนผู้อ่านสำรวจงบดิจิทัลปี 67 ของไทยกว่า 5,000 ล้านบาทว่าเป็นอย่างไร ? มีปัญหาอะไรที่ต้องคำนึงอีกบ้าง ?

กษิดิ์เดช คำพุช

24 Apr 2024

Spotlights

20 Jul 2020

‘Good Jobs Economy’: สัญญาประชาคมใหม่ในยุค ‘The Great Reset’

สมคิด พุทธศรี เขียนถึงปัญหาในระบบทุนนิยมโลกาภิวัตน์ที่ไม่สามารถ ‘สร้างงานที่ดี’ ได้อย่างเพียงพอ และพาไปรู้จัก ‘Good Jobs Economy’ ในฐานะสัญญาประชาคมใหม่ที่จะเข้ามาแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำและความไม่มั่นคงในชีวิตของผู้คน

สมคิด พุทธศรี

20 Jul 2020

101PUB

19 Oct 2022

เงื่อนไขที่ควรเรียกร้อง หาก กสทช. ‘จำต้อง’ อนุญาตดีลทรู+ดีแทค

การควบรวมทรู+ดีแทคสร้างผลกระทบต่อตลาดและผู้บริโภคอย่างรุนแรง 101 PUB เสนอเงื่อนไขขั้นต่ำที่ กสทช. ควรกำหนหาก ‘จำต้อง’ อนุญาตให้ควบรวม

ฉัตร คำแสง

19 Oct 2022

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save