fbpx

Asia

7 Apr 2022

เข้าใจความเป็นกลางแบบอินเดีย ท่ามกลางวิกฤตรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ ชวนทำความเข้าใจท่าทีของอินเดีย ที่เลือกวางตัวเป็นกลางท่ามกลางวิกฤตความขัดแย้งระหว่างรัสเซีย-ยูเครน

ภาสกร ธรรมโชติ

7 Apr 2022

World

1 Apr 2022

‘เสถียรภาพในความขัดแย้ง’: บทบาทของอาวุธนิวเคลียร์ในสงครามรัสเซีย-ยูเครน

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา วิเคราะห์พฤติกรรมการไม่แทรกแซงของมหาอำนาจตะวันตกที่ครอบครองอาวุธนิวเคลียร์ในวิกฤตการณ์รัสเซีย-ยูเครน ผ่านแนวคิด ‘ความย้อนแย้งของความมีเสถียรภาพ-ความไร้เสถียรภาพ’ (stability-instability paradox)

จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

1 Apr 2022

World

28 Mar 2022

Crisis beyond Ukraine: มองวิกฤตมนุษยธรรม-กฎหมายระหว่างประเทศ-ความมั่นคง ผ่านสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 ชวนถอดรหัส ‘วิกฤต’ ที่ไกลกว่าวิกฤตความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครน ทำไมกลไกกฎหมายระหว่างประเทศที่ควรจะรักษาสันติภาพโลกเอาไว้จึงล้มเหลว? การเมืองมหาอำนาจจะเดินหน้าไปทางไหนต่อ? และที่สำคัญที่สุดยิ่งกว่าสิ่งอื่นใด ‘มนุษย์’ อยู่ตรงไหนในสมการความขัดแย้งครั้งนี้?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Mar 2022

World

15 Mar 2022

โตเกียวเสียขวัญ เมื่อเสียงปืนสนั่นฟ้ายูเครน

เมื่อสงครามรัสเซีย-ยูเครน สร้างแรงสั่นสะเทือนต่อทั่วโลก ธีวินท์ สุพุทธิกุล เขียนถึง ระเบียบความมั่นคงบนกลไกการป้องปรามที่สั่นคลอนในเอเชียตะวันออก ซึ่งก่อให้เกิดความไม่แน่นอนและไม่ไว้เนื้อเชื่อใจในระบบพันธมิตรระหว่างญี่ปุ่น-สหรัฐฯ อันเป็นผลจากการรับประกันความมั่นคงและการตอบสนองที่ล้มเหลวของชาติพันธมิตรยุโรปและสหรัฐฯ ในวิกฤตยูเครน

ธีวินท์ สุพุทธิกุล

15 Mar 2022

101 in focus

11 Mar 2022

101 In Focus Ep.120: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน

101 In Focus ชวนติดตามความคืบหน้าของสถานการณ์การสู้รบระหว่างรัสเซีย-ยูเครน ซึ่งล่วงเข้าสู่สัปดาห์ที่สอง พร้อมชวนฟังคำบอกเล่าจากคนยูเครนที่กำลังเผชิญไฟสงครามบนบ้านเกิดตัวเอง

กองบรรณาธิการ

11 Mar 2022

World

7 Mar 2022

“ผมใช้ค้อนตอกภาพวาดที่หน้าต่างไว้กันระเบิด”: เสียงและเลือดเนื้อประชาชนกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน

ท่ามกลางไฟสงครามรัสเซีย-ยูเครน ด้วยความช่วยเหลือจาก อาเท็ม โพโนมาเรสฟกี สื่อชาวยูเครน 101 ชวนฟัง ‘เสียง’ และ ‘เรื่องราว’ ของประชาชนชาวยูเครนจาก Chernihiv และ Sumy สองแคว้นทางภาคเหนือของยูเครน และกรุงคีฟ – สามแนวรบสำคัญที่ตกอยู่ภายใต้วงล้อมและการโจมตีของกองทัพรัสเซีย

กองบรรณาธิการ

7 Mar 2022

World

2 Mar 2022

ก้าวต่อไปของสงครามรัสเซีย-ยูเครน: โลกบนเส้นบางๆ ระหว่าง ‘สงคราม’ และ ‘สันติภาพ’

ล่วงเข้าสู่วันที่หกของการบุกโจมตียูเครน ในช่วงเวลาที่อุณหภูมิความตึงเครียดระหว่างยูเครนและรัสเซียยังคงไม่มีท่าทีที่จะเย็นลง ควบคู่ไปกับความพยายามในการเปิดประตูการเจรจา 101 ชวนถอดรหัส ‘สงครามรัสเซีย-ยูเครน’ ท่ามกลางสภาวะฝุ่นตลบ ผ่านมุมมองแบบความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก จิตติภัทร พูนขำ อาจารย์ประจำสาขาการระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

2 Mar 2022

World

1 Mar 2022

Exclusive Interview “ทุกเช้าที่ตื่นขึ้นมา เราประกาศต่อโลกว่ายังไม่แพ้ และจะไม่ยอมให้เป็นเช่นนั้น” – ‘คีรา รูดิก’ ส.ส. ยูเครนที่ตัดสินใจจับปืนเพื่อประเทศ

ในช่วงเวลาที่ทั่วโลกจับตามองสงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย 101 มีโอกาสต่อสายตรงไปยังกรุงคีฟเพื่อคุยกับคีราว่า อะไรที่ทำให้นักการเมืองอย่างเธอที่ไม่เคยคิดฝันจะจับอาวุธตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มต่อต้านและรับการฝึก พร้อมชวนคุยถึงความคิดความอ่านของเธอในห้วงเวลาสำคัญที่จะนำสันติภาพกลับมาสู่ยูเครน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

1 Mar 2022

Europe

28 Feb 2022

“ทุกเช้าที่ตื่นขึ้นมา เราประกาศต่อโลกว่ายังไม่แพ้ และจะไม่ยอมให้เป็นเช่นนั้น” คุยกับ ‘คีรา รูดิก’ ส.ส. ยูเครนที่ตัดสินใจจับปืนเพื่อประเทศ

ล่วงเข้าสู่วันที่ห้าของการบุกโจมตี ในช่วงเวลาที่ทั่วโลกจับตามองสงครามระหว่างยูเครนและรัสเซีย 101 มีโอกาสต่อสายตรงไปยังกรุงคีฟเพื่อคุยกับคีราว่า อะไรที่ทำให้นักการเมืองอย่างเธอที่ไม่เคยคิดฝันจะจับอาวุธตัดสินใจเข้าร่วมกลุ่มต่อต้านและรับการฝึก พร้อมชวนคุยถึงความคิดความอ่านของเธอในห้วงเวลาสำคัญที่จะนำสันติภาพกลับมาสู่ยูเครน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

28 Feb 2022

World

17 Feb 2022

จากไครเมีย สู่ยูเครน: เปิดปมเบื้องหลังความขัดแย้งรัสเซีย-ยูเครนระลอกใหม่

101 ชวนถอดรหัสวิกฤตชายแดนยูเครน ที่จริงแล้วรัสเซียคิดอะไรอยู่? ตั้งใจจะทำสงครามจริงหรือไม่? ทำไมยูเครนถึงกลายเป็น ‘สนามอารมณ์’ ทางภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างรัสเซียและโลกตะวันตก? และทำไมรัสเซียมีท่าทีที่ดูเหมือนว่าจะ ‘ยอมไม่ได้’?

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

17 Feb 2022

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save