fbpx

World

3 Dec 2021

การปฏิรูปที่ไม่สิ้นสุดของกองทัพอินโดนีเซีย

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี เขียนถึงประวัติศาสตร์การปฏิรูปกองทัพอินโดนีเซีย ที่เติบโตพร้อมกับประชาธิปไตยในประเทศ

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี

3 Dec 2021

Asean

19 Oct 2021

บุหรี่ในประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: จาก ‘การบังคับเพาะปลูก’ สู่การบริโภคมากที่สุดในอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล พาสำรวจประวัติศาสตร์ของ ‘บุหรี่’ ในอินโดนีเซีย ประเทศที่ครองแชมป์สูบบุหรี่สูงสุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

19 Oct 2021

Asean

20 Sep 2021

The King and I(ndonesia): การเสด็จชวาของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์การเสด็จประพาสชวา (อินโดนีเซีย) 3 ครั้งของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Sep 2021

World

26 Aug 2021

ชิงสุกก่อนห่าม?: ซูการ์โนถูกลักพาตัวบังคับให้ประกาศเอกราช

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เล่าประวัติศาสตร์ช่วงเวลาแห่งการประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย ซึ่งเกิดเหตุวุ่นวาย เมื่อซูการ์โนถูกนักชาตินิยมรุ่นใหม่ลักพาตัว บีบให้เร่งประกาศเอกราช

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

26 Aug 2021

Life & Culture

20 Apr 2021

ชาใส่นมหรือไม่ใส่นม? มรดกเจ้าอาณานิคมกับวัฒนธรรมชาในมาเลเซีย-อินโดนีเซีย

มัธธาณะ รอดยิ้ม เขียนถึงความแตกต่างในวัฒนธรรมการดื่มชาของมาเลเซียและอินโดนีเซียที่มีผลมาจากเขตอำนาจของเจ้าอาณานิคมในอดีต

มัธธาณะ รอดยิ้ม

20 Apr 2021

World

15 Oct 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (2)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

15 Oct 2020

Economy

22 Jul 2020

วิกฤตเศรษฐกิจล้มเผด็จการได้หรือไม่

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามว่าวิกฤตเศรษฐกิจมีพลังมากพอที่จะเปลี่ยนแปลงการเมืองได้จริงหรือไม่ และบนเงื่อนไขของปัจจัยใดบ้าง

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

22 Jul 2020

World

17 Jul 2020

ร่วมรากแต่ขัดแย้ง ความบาดหมางระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงความขัดแย้งระหว่างประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่ทั้งสองประเทศมีรากเหง้าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกันหลายอย่าง จนนำไปสู่ความขัดแย้งในการช่วงชิงความเป็นเจ้าของภาษาและวัฒนธรรมมลายู

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

17 Jul 2020

Spotlights

1 Jul 2020

อินโดนีเซียในสมรภูมิ COVID-19 กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล

101 ชวนสนทนากับ ผศ.ดร.อรอนงค์ ทิพย์พิมล อาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ถึงสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศอินโดนีเซีย

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

1 Jul 2020

Talk Programmes

19 Jun 2020

101 One-On-One Ep.154 : อินโดนีเซียในสมรภูมิ COVID-19 กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล

เพราะเหตุใดอินโดนีเซียจึงมีจำนวนผู้ติดเชื้อและผู้เสียชีวิตมากขนาดนี้ โรคระบาดกระทบกับการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอย่างไร เราเห็นอะไรน่าสนใจในการรับมือกับไวรัสครั้งนี้ และสถานการณ์ในอินโดนีเซียจะส่งผลต่ออาเซียนอย่างไร

101 One-on-One

19 Jun 2020

Talk Programmes

28 Feb 2019

101 One-on-One Ep.62 “อ่านการเมืองอินโดนีเซีย : เลือกตั้งใหญ่ ประชาธิปไตย และการปฏิรูปกองทัพ” กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล

101 One-on-One Ep.62  “อ่านการเมืองอินโดนีเซีย : เลือกตั้งใหญ่ ประชาธิปไตย และการปฏิรูปกองทัพ” กับ อรอนงค์ ทิพย์พิมล สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 17 เมษายน อินโดนีเซียจะเดินหน้าสู่การเลือกตั้งใหญ่ ผู้คนต่างจับตาว่า “โจโกวี’ ประธานาธิบดีไพร่ จะยังคงรักษาเก้าอี้ เอาชนะคู่แข่งอดีตนายพลคนสำคัญของกองทัพได้หรือไม่ และคลื่นลมการเมืองอินโดนีเซียกำลังพัดพาอนาคตของประเทศไปทางไหน 

101 One-on-One

28 Feb 2019

World

13 Apr 2018

ปัญหาผู้อพยพกับผลประโยชน์ของชาติ : บทเรียนจากอินโดนีเซียถึงไทย

พวงทอง ภวัครพันธุ์ ชวนคิดเรื่องปัญหาผู้อพยพ สิทธิมนุษยชน มนุษยธรรม และผลประโยชน์ของชาติ ผ่านบทเรียนของอินโดนีเซียยุคหลังซูฮาร์โต

พวงทอง ภวัครพันธุ์

13 Apr 2018
1 3 4

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save