fbpx

Books

28 Oct 2017

3 หนังสือดีที่ 3 ผู้เชี่ยวชาญด้าน A.I. พร้อมใจกันบอกว่าคุณ ‘น่าจะอ่าน’

เริ่มเรียนรู้โลกอนาคตที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ is coming ด้วยหนังสือดีสามเล่มที่แนะนำโดยคนวงในผู้คลุกคลีกับเรื่อง A.I.

กองบรรณาธิการ

28 Oct 2017

Books

26 Oct 2017

ความน่าจะอ่าน : 15 เล่มน่าอ่าน จากงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 22

แนะนำ ’15 หนังสือน่าอ่าน’ จากงานมหกรรมหนังสือระดับชาติ ครั้งที่ 22 คัดสรรโดย 5 หนอนหนังสือตัวยง

กองบรรณาธิการ

26 Oct 2017

Books

12 May 2017

Reading in the Rain 10 หนังสือ ‘น่าจะอ่าน’ ในฤดูฝน

ฝรั่งเขาจะมี Summer Reading คือรายชื่อหนังสือสำหรับอ่านในช่วงฤดูร้อน แต่สำหรับเมืองไทย หลายคนบอกว่าฤดูร้อนร้อนเกินกว่าจะอ่านหนังสือได้ เลยอยากชวนคุณมาอ่านหนังสือในฤดูฝนแทน เพราะเวลาฝนตกไปไหนไม่ได้ การมีหนังสืออยู่ในมือจะเป็นเพื่อนที่ช่วยรักษาความหว่องได้ชะงัดนัก!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 May 2017

Books

23 Mar 2017

Short List 13 เล่มสุดท้าย ของ ‘ความน่าจะอ่าน’

จากหนังสือห้าสิบกว่าเล่ม ที่คณะกรรมการสุดเอาแต่ใจทั้ง 5 คิดว่า ‘น่าจะอ่าน’ ตอนนี้เราได้ 13 เล่มสุดท้ายที่ฝ่าดงการฟาดฟันอย่างดุเดือดเป็นที่เรียบร้อย

กองบรรณาธิการ

23 Mar 2017

Books

17 Mar 2017

มาแล้ว! Long List ‘ความน่าจะอ่าน’ (2)

ผลการคัดเลือกหนังสือ ‘น่าอ่าน’ ประจำปี 2559 (ที่เหลืออีก 27 เล่ม) โดยกรรมการ 5 คน คือ สฤณี อาชวานันทกุล, นิวัต พุทธประสาท, ทราย เจริญปุระ, ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ในโปรเจ็กต์ ‘ความน่าจะอ่าน’ มาแล้ว! ไปลุ้นกันต่อ ว่าเล่มไหนตรงใจหรือไม่ตรงใจคุณบ้าง และคอมเมนต์ให้เรารู้ด้วยก็จะขอบพระคุณยิ่ง

กองบรรณาธิการ

17 Mar 2017

Books

16 Mar 2017

มาแล้ว! Long List ‘ความน่าจะอ่าน’ (1)

ผลการคัดเลือกหนังสือ ‘น่าอ่าน’ ประจำปี 2559 โดยกรรมการ 5 คน คือ สฤณี อาชวานันทกุล, นิวัต พุทธประสาท, ทราย เจริญปุระ, ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ในโปรเจ็กต์ ‘ความน่าจะอ่าน’ รอบแรกออกมาแล้ว!
หนังสือที่ผ่านเข้ามาในรอบแรก เป็นหนังสือที่กรรมการทั้ง 5 คน ต่างคนต่างเลือกเข้ามาตามความชอบของตัวเอง บางเล่มมีคนเลือกซ้ำกัน บางเล่มก็ไม่ซ้ำกันเลย เลขที่ออก…คือ 53 เล่ม!

กองบรรณาธิการ

16 Mar 2017

Books

15 Mar 2017

101 Minutes at Starbucks ครั้งที่ 1: เสวนาและประกาศผล ‘ความน่าจะอ่าน’

101 ร่วมกับ Starbucks จะจัดงานเสวนาในเชิงความรู้ 101 Minutes at Starbucks กับกิจกรรมครั้งที่ 1 เสวนาและประกาศผล ‘ความน่าจะอ่าน’

กองบรรณาธิการ

15 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

โตมร ศุขปรีชา : เพราะการอ่านเป็นเรื่อง ‘อัตวิสัย’

โตมร ศุขปรีชา เป็นตัวแทนจาก 101 เข้าไปเป็นหนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เขาออกตัวว่าน่าจะเป็นกรรมการสาย ‘(สู่) รู้ทุกเรื่อง-แต่ไม่รู้จริงสักเรื่อง’ แต่ถ้าดูจากงานที่เขาทำ เราจะเห็นว่าคำว่า Well-Rounded น่าจะเหมาะสมกับตัวเขามากที่สุด และดังนั้น เขาจึงน่าจะเป็นตัวแทน ‘ความน่าจะอ่าน’ ในอีกรูปแบบหนึ่งได้เป็นอย่างดี

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล : เมื่อเสพสื่อดิจิตอลจนล้า คนจะกลับมาอ่านหนังสือเล่ม

แชมป์-ทีปกร วุฒิพิทยามงคล เป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ที่อายุน้อยที่สุด ด้วยเหตุนี้ เขาจึงถูกยัดเยียดความเป็น ‘ตัวแทนคนรุ่นใหม่’ ให้โดยปริยาย แต่ถ้าดูจากหนังสือที่แชมป์ชอบอ่าน จะพบว่าเขาชอบหนังสือที่เกี่ยวกับโลกยุคใหม่ เทรนด์ เทคโนโลยี และเรื่องเชิงสังคมที่คนทั่วไปอาจรู้สึกว่าย่อยยาก แชมป์จึงเป็นตัวแทนหนังสือแนว non-fiction ไปพร้อมกับความเป็นคนรุ่นใหม่ด้วย

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

10 Mar 2017

Books

10 Mar 2017

ทราย เจริญปุระ : การอ่านไม่เห็นต้องปีนบันได

ในการพบปะกันครั้งแรก ทราย เจริญปุระ เป็นผู้ที่บอกว่า “โปรเจ็กต์นี้นี้น่าจะเรียกว่า ‘ความน่าจะอ่าน’ เนอะ” แล้วโปรเจ็กต์นี้ก็ได้ชื่อนี้ขึ้นมาจริงๆ เป็นชื่อที่เหมาะมากกับโปรเจ็กต์ทั้งหมด น่าจะพูดได้ว่า ทรายเป็นนักอ่านที่อ่านหนังสือกว้างขวางที่สุดในบรรดากรรมการทั้งหมด เธอบอกว่าตัวเองเป็นตัวแทนของ ‘นักอ่านสายป๊อบ’ ซึ่งก็มาเป็นจิ๊กซอว์ให้กับคณะกรรมการทั้งหมดได้ลงตัวอย่างยิ่ง

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

10 Mar 2017

Books

9 Mar 2017

สฤณี อาชวานันทกุล : คุณค่าทางวรรณกรรม ใครเป็นคนกำหนด?

สฤณี อาชวานันทกุล หนึ่งในคณะกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ ชวนเรามาตั้งคำถามว่า ‘คุณค่า’ ของรางวัลวรรณกรรมต่างๆ คืออะไร ประเด็นนี้ไม่เพียงสำคัญ แต่ยังชวนเราตั้งคำถามกับสิ่งที่เป็นอยู่ เพื่อก้าวสู่ความน่าจะเป็นในอนาคตด้วย

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

9 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

นิวัต พุทธประสาท : คนทำหนังสือยุคนี้ ควรมีทัศนคติที่ดีต่อสื่อออนไลน์

นิวัตเป็นทั้งนักเขียน นักอ่าน และบรรณาธิการที่ทำงานด้านวรรณกรรมไทยมากว่า 20 ปี เขาบอกว่าสื่อออนไลน์คืออาวุธที่ต้องใช้เพื่อเข้าถึงคนอ่านให้กว้างที่สุด ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทำไม 101 จึงเชื้อเชิญเขามาร่วมเป็นกรรมการ ‘ความน่าจะอ่าน’ เพื่อร่วมสร้างวัฒนธรรมการอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ติดตามความคิดของเขาได้-ที่นี่!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

8 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน กับการแนะนำหนังสือที่ ‘เอาแต่ใจที่สุด’

‘ความน่าจะอ่าน’ เกิดขึ้นด้วยแนวคิดที่ผสมกันระหว่าง ‘การรีวิว’ และ ‘การให้รางวัล’ โดยมีคอนเซ็ปต์ง่ายๆว่า ไม่ต้องซีเรียสจริงจังนั่งกอดอกพยักหน้า ไม่ต้องเกรงบารมีผู้ทรงคุณวุฒิใดๆทั้งสิ้น ใครจะเชื่อไม่เชื่อก็สุดแล้วแต่ ชอบไม่ชอบก็แชร์กันได้ กับ 5 กรรมการ อย่าง นิวัต พุทธประสาท / สฤณี อาชวานันทกุล / ทราย เจริญปุระ / ทีปกร วุฒิพิทยามงคล และ โตมร ศุขปรีชา ที่ 101 ชวนมาคัดเลือกหนังสือแนะนำตามใจและความชอบของพวกเขาเองล้วนๆ

ถ้าอยากรู้ว่าคนเหล่านี้จะเลือกหนังสืออะไรมาแนะนำบ้าง-โปรดติดตาม!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

8 Mar 2017

Books

6 Mar 2017

ความน่าจะอ่าน : ทำไมไม่อ่าน?

คนไทยอ่านหนังสือกันปีละกี่บรรทัด?

ถามคนแต่ละคน คงได้ตัวเลขที่แตกต่างกันไม่รู้จบ แต่ที่เห็นพ้องต้องกันแน่ๆ ก็คือการอ่านของสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า-พวกเราชาวไทยนั้น, มันน้อยจริงๆ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

6 Mar 2017
1 6 7

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save