fbpx

World

16 Sep 2019

‘สิ่งเก่าไปสิ่งใหม่ยังไม่เกิด’ : ประชาธิปไตยและเผด็จการในยุโรป จากศตวรรษที่ 18 ถึง 21

จันจิรา สมบัติพูนศิริ เขียนถึงพัฒนาการของเสรีนิยมประชาธิปไตยในยุโรปที่เต็มไปด้วยขวากหนามและแลกมาด้วยชีวิตประชาชนเรือนล้านระหว่างเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง

จันจิรา สมบัติพูนศิริ

16 Sep 2019

World

3 May 2019

Five thoughts as Brexit takes a mini-break. Part 5: democracy and sovereignty weaponised

ซีรีส์พิเศษ ทบทวนและถอดบทเรียน ‘Brexit’ ล่าสุด จากพีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ ตอนที่สุดท้าย ว่าด้วยข้อเสนออันแหลมคมและเป็นที่ถกเถียงกันมากที่สุดในสังคมการเมืองอังกฤษคือ การทำประชามติ Brexit ครั้งที่ 2

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

3 May 2019

World

2 May 2019

Five thoughts as Brexit takes a mini-break. Part 4: is the Prime Minister the problem?  

ซีรีส์ ทบทวนและถอดบทเรียน ‘Brexit’ ล่าสุด จาก พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ ตอนที่ 4 ว่าด้วย 4 ข้อผิดพลาดใหญ่ของเทเรซ่า เมย์ ที่อาจส่งผลรุนแรง ถึงขั้นการแตกสลายของประเทศในกลุ่มสหราชอาณาจักร

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

2 May 2019

World

1 May 2019

Five thoughts as Brexit takes a mini-break. Part 3: They ain’t seen nothing yet

ซีรีส์ ‘Five thoughts as Brexit takes a mini-break’ โดย พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ ตอนที่ 3 : ปมปัญหาของ ‘Brexit’ ไม่ได้อยู่ที่ว่าสหราชอารณาจักรจะออกจากยุโรปหรือไม่ แต่อยู่ที่ว่าออกไปแล้วจะอยู่ด้วยกันอย่างไร

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

1 May 2019

World

29 Apr 2019

Five thoughts as Brexit takes a mini-break. Part 1: Red Queen Theresa’s Race

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ เขียนจดหมายฉบับพิเศษเพื่อทบทวนสถานการณ์ล่าสุดของ ‘Brexit’ ในความหยุดนิ่งและไม่ไปไหนของกระบวนการเจรจา มีอะไรประเด็นและความวุ่นวายอะไรใหม่บ้าง ที่่กำลังกลายเป็นปมเงื่อนสำคัญในการเมืองอังกฤษ

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

29 Apr 2019

World

30 Nov 2018

ระบอบปูตินเสื่อมอำนาจ?

จิตติภัทร พูนขำ มองสัญญาณการเสื่อมอำนาจของระบอบปูติน ที่ครองอำนาจมาเกือบสองทศวรรษ ซึ่งปรากฏผ่านผลโพลและการเลือกตั้งระดับภูมิภาคครั้งล่าสุด

จิตติภัทร พูนขำ

30 Nov 2018

Social Problems

9 Oct 2018

ความเท่าเทียมในความไม่เท่าเทียม : ชีวิตแม่บ้านไทยในสหราชอาณาจักร

ภัทราภรณ์ จึงเลิศศิริ เขียนถึงชีวิตของหญิงไทยที่ไปสร้างครอบครัวอยู่ในสหราชอาณาจักร แม้จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากสังคมที่มีความเท่าเทียมสูงกว่า ทว่าอีกด้านหนึ่ง พวกเธอกลับต้องพบเจอกับภาวะ ‘การเหยียดตัวเอง’ จากมายาคติเดิมๆ

กองบรรณาธิการ

9 Oct 2018

World

31 Aug 2018

ก่อร่างสร้างพันธมิตรใหม่ : รัสเซียกับประชานิยมขวาจัดในการเมืองยุโรป 

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างรัสเซียกับฝ่ายขวาจัดในยุโรป รวมทั้งวิเคราะห์นัยสำคัญของระบบพันธมิตรใหม่นี้ที่มีต่อการเมืองยุโรป

จิตติภัทร พูนขำ

31 Aug 2018
1 11 12 13 14

MOST READ

Europe

30 Apr 2024

อย่าประมาทพลังชาตินิยมขวาจัด: ‘นาซี’ จาก ‘พรรคปัดเศษ’ สู่ ‘เผด็จการเบ็ดเสร็จ’

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา ชวนมองการเติบโตของพรรคนาซี จากพรรคชาตินิยมขวาจัดที่จัดม็อบหรอมแหรม-ชอบปล่อยข่าวปลอม กลายเป็นพรรคที่ปลุกระดมความเกลียดชังสำเร็จจนสร้างบาดแผลใหญ่ให้ประวัติศาสตร์มนุษยชาติ

ชยางกูร เพ็ชรปัญญา

30 Apr 2024

Europe

8 Apr 2024

ถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกี 2024 กับอนาคตของพรรค AKP ที่ถูกสั่นคลอน

ยาสมิน ซัตตาร์ ชวนถอดบทเรียนการเลือกตั้งท้องถิ่นตุรกีที่มีขึ้นเมื่อปลายเดือนมีนาคม 2024 ที่ผ่านมา ชัยชนะของพรรคฝ่ายค้าน CHP กำลังฉายภาพ ‘ขาลง’ ของพรรครัฐบาลอย่าง AKP ที่นำโดยประธานาธิบดีแอรโดก์อานหรือไม่ และผลการเลือกตั้งครั้งนี้สะท้อนอะไรในการเมืองระดับชาติ

ยาสมิน ซัตตาร์

8 Apr 2024

World

29 Apr 2024

ฮัลทัวะ ลักซ์เนสส์ ชาวเกาะนอร์ดิค

คอลัมน์ ‘เลียบขั้วโลก’ ประจำเดือนนี้ ปรีดี หงษ์สต้น ชวนอ่านเรื่องราวของ ฮัลทัวะ ลักซ์เนสส์ (Halldór Laxness, 1992-1998) ‘ชาวเกาะ’ นอร์ดิค ผู้เป็นนักเขียนเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมปี 1955

ปรีดี หงษ์สต้น

29 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save