fbpx

Science & Innovation

18 Aug 2023

นักวิทย์ไทยไส้แห้ง (?) : ฟังเสียงที่บอกว่าวิทยาศาสตร์ไม่อาจเบ่งบานในสังคมขาดการสนับสนุนจากรัฐ

101 พาไปตรวจสอบสมมติฐานที่เขาว่ากันว่าอาชีพนักวิทยาศาสตร์หรือนักวิจัยในไทยนั้น ‘ไส้แห้ง’ จนคนไม่เลือกเรียน ฟังเสียง 2 นักวิจัย อดีตนักเรียนทุนรัฐบาลเพื่อเปิดไปสู่ภาพใหญ่ว่ารัฐไทยจริงจังกับการสนับสนุนวิทยาศาสตร์มากแค่ไหน

เพ็ญพิชชา มุ่งงาม

18 Aug 2023

Life & Culture

10 Aug 2023

ทำไมคนชอบโกหก?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยที่เกี่ยวกับการโกหกของมนุษย์ ตั้งแต่นักการเมืองจนถึงคนใกล้ตัว ทำไมการโป้ปดถึงอยู่ในชีวิตประจำวันของเราอย่างแนบแน่น

นำชัย ชีววิวรรธน์

10 Aug 2023

Life & Culture

13 Jul 2023

กิจวัตรลำเค็ญในอวกาศ

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปสำรวจชีวิตบนความสูงกว่า 100 กิโลเมตรเหนือระดับน้ำทะเลของ ‘นักบินอวกาศ’ ที่ซึ่งกิจวัตรธรรมดาสามัญกลายเป็นเรื่องสุดลำเค็ญได้

นำชัย ชีววิวรรธน์

13 Jul 2023

Life & Culture

20 Jun 2023

ความเจ็บปวดและประโยชน์ที่คาดไม่ถึงจากตัวต่อเลโก้

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจงานวิจัยที่จะเผยถึงเบื้องหลังความสนุก การเสริมสร้างพัฒนาการ ความเจ็บปวด (ถ้าเผลอไปเหยียบ) และประโยชน์ที่คาดไม่ถึงของตัวต่อพลาสติกยอดนิยมที่ชื่อ ‘เลโก้’  

นำชัย ชีววิวรรธน์

20 Jun 2023

Life & Culture

12 May 2023

เลือกตั้งยังไงไม่ให้ ‘เบียว’ ไม่ให้ ‘เบี้ยว’

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาไปดูงานวิจัยและผลสำรวจจากหลากประเทศ ว่าด้วยปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ‘ลงคะแนน’ ให้ผู้สมัครจากพรรคใดพรรคหนึ่ง ไล่เรียงตั้งแต่การชี้นำจากสื่อ การทำโพลแบบมีอคติ การหยิบยกประเด็นทางเชื้อชาติ ศาสนามาหาเสียง ไปจนถึงรูปร่างหน้าตาของผู้สมัคร

นำชัย ชีววิวรรธน์

12 May 2023

Life & Culture

17 Apr 2023

เมื่อ AI ทำได้ทุกอย่าง มนุษย์ควรวางจริยศาสตร์ให้ AI ไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงความสามารถของ Generative AI ในการสร้างสิ่งที่ไม่เคยมีอยู่เดิมขึ้นจาก Big Data แต่ความก้าวหน้านี้กลับสร้างความท้าทายด้านจริยธรรมต่อมนุษยชาติ

นำชัย ชีววิวรรธน์

17 Apr 2023

Sustainability

17 Mar 2023

ในสังคมที่ต้องการผู้กล้า เราจะรับมือกับ SLAPP การฟ้องปิดปากเรื่องสิ่งแวดล้อมอย่างไร?

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ เขียนถึงกรณีการดำเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์เพื่อหยุดยั้งการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนต่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม

วันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์

17 Mar 2023

Science & Innovation

9 Mar 2023

หรือความขี้เกียจจะช่วยให้มีโอกาสรอดในโลกได้มากขึ้น?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงประโยชน์อันคาดไม่ถึงของความขี้เกียจ ที่ช่วยเพิ่มโอกาสมีชีวิตรอดให้มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์

9 Mar 2023

Life & Culture

28 Feb 2023

หวั่นใจชำรุด มนุษย์ต่างดาว: จักรวาลแสนกว้างใหญ่ แล้วเมื่อไหร่เอเลียนจะติดต่อเรามาสักที

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าวันนี้พรุ่งนี้ มนุษยชาติกับเอเลียนติดต่อกันขึ้นมาได้จริงๆ

จักรวาลกว้างใหญ่ไพศาล จะเป็นไปได้อย่างไรโลกจะเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวที่มีสิ่งมีชีวิต แต่ถึงอย่างนั้น เหตุใดเอเลียนจึงยังไม่เคยติดต่อเรามา มากไปกว่านั้น มนุษย์เราพร้อมแล้วหรือยังหากพวกเขาติดต่อเรามาจริงๆ

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Feb 2023

Science & Innovation

8 Feb 2023

ทำไมนักวิจัยโกง?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงระบบการทำงานวิจัยและช่องว่างที่ทำให้เกิดการ ‘โกง’ หรือการทำงานวิจัยอย่างไม่ซื่อสัตย์จนทำให้เกิด ‘เปเปอร์ทิพย์’ ในวงการวิชาการ

นำชัย ชีววิวรรธน์

8 Feb 2023

Life & Culture

14 Dec 2022

จาก ‘เราพูดอะไรได้บ้าง’ ถึง ‘เราได้ยินอะไรบ้าง’: เมื่ออัลกอริทึมกำลังเปลี่ยนวิธีคิดเรื่องฟรีสปีช

อัครพัชร์ เจริญพานิช เขียนถึงเบื้องหลังอัลกอริทึมของเฟซบุ๊ก ที่ชวนให้เรากลับไปตั้งคำถามต่อ ‘ฟรีสปีช’ ในสังคมออนไลน์ ไปจนถึงว่าสิ่งที่เราพูดไปแล้ว ‘อะไรบ้างที่จะถูกได้ยิน’ และ ‘ใครบ้างที่จะได้ยินสิ่งนั้น’

อัครพัชร์ เจริญพานิช

14 Dec 2022

Life & Culture

30 Nov 2022

FTX Meltdown : จากฮีโรสู่ตัวร้ายของ Sam Bankman-Fried

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงการล่มสลายของ FTX เมื่อคนโด่งดังในวงการคริปโตอย่าง Sam Bankman-Fried กลายเป็นตัวร้ายในวงการเหรียญดิจิทัล

โสภณ ศุภมั่งมี

30 Nov 2022

Life & Culture

21 Nov 2022

ไม่ตรงปก: ว่าด้วยร่างทรงของเราบนอินสตาแกรม

คอลัมน์ ‘สารกันเบื่อ’ เดือนนี้ เอกศาสตร์ สรรพช่าง เขียนถึง ความน่ากังวลเรื่องมาตรฐานความงามที่ตามมาจากการเกิดขึ้นของ ‘ฟิลเตอร์’

เอกศาสตร์ สรรพช่าง

21 Nov 2022

Science & Innovation

15 Nov 2022

คุณเชื่อใจนักการเมืองได้แค่ไหน?

นำชัย ชีววิวรรธน์ เขียนถึงงานวิจัยสำรวจการรักษาสัญญาของนักการเมืองและสิ่งที่ทำให้ประชาชนเชื่อใจและไม่เชื่อใจนักการเมือง

นำชัย ชีววิวรรธน์

15 Nov 2022

Life & Culture

7 Nov 2022

เป้าหมายแรกของทวิตเตอร์ภายใต้อีลอน มัสก์ คือ ‘การสร้างรายได้’

โสภณ ศุภมั่งมี เขียนถึงทิศทางของทวิตเตอร์ หลังจากอีลอน มัสก์เข้ากุมบังเหียน เมื่อมีโจทย์ทางธุรกิจยากๆ รออยู่

โสภณ ศุภมั่งมี

7 Nov 2022
1 2 3 14

MOST READ

Science & Innovation

11 Mar 2024

มหาวิทยาลัยชั้นนำกับยุทธศาสตร์รับมือ ChatGPT ด้วยการกระจายอำนาจ: ตอบโจทย์ แต่ยังไม่พอ

ตะวัน มานะกุล ชวนมองแนวทางที่มหาวิทยาลัยแนะนำคณาจารย์ให้นำไปใช้จัดการกับการที่นักศึกษาใช้ ChatGPT ในชั้นเรียน โดยต้องมีการปรับตัวเป็นรายวิชา

ตะวัน มานะกุล

11 Mar 2024

Science & Innovation

18 Mar 2024

ทำไมคนรู้น้อยมั่นใจมาก แต่คนรู้มากกลับไม่มั่นใจ?

นําชัย ชีววิวรรธน์ พาไปหาคำตอบผ่านหลากงานวิจัยและหลายการทดลองว่าทำไมคนที่มีความรู้น้อยถึงมั่นใจว่าตนนั้นเก่งมาก แต่คนที่รู้มากกลับมั่นใจในความรู้ตัวเองน้อย

นำชัย ชีววิวรรธน์

18 Mar 2024

Science & Innovation

6 Mar 2024

‘ผิดเราเป็นครู ผิดเขาเป็นครูใหญ่’ มนุษย์เรียนรู้จากความผิดพลาดได้จริงไหม?

นำชัย ชีววิวรรธน์ พาสำรวจข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ว่ามนุษย์เรียนรู้จากความผิดพลาดได้จริงหรือไม่ และทำไมหลายคนยังทำผิดซ้ำๆ ในเรื่องเดิมๆ

นำชัย ชีววิวรรธน์

6 Mar 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save