fbpx

หลักประกันสุขภาพที่รัก

21 Feb 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (4) : สงครามฝิ่นและข้อมูล

“หลักประกันสุขภาพที่รัก” ตอนที่ 4 นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าชีวิตการทำงานเมื่อครั้งเป็นหมอฝึกหัด โดยมี “สงครามฝิ่น” เป็นฉากหลัง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

21 Feb 2018

Interviews

13 Feb 2018

อย่าคิดว่าแน่ เลยไม่แคร์เบาหวาน – ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์

101 ชวนคุณพูดคุยกับ ศ.เกียรติคุณ พญ.วรรณี นิธิยานันท์ นายกสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ เพื่อหาคำตอบว่า สาเหตุอะไรที่ทำให้เบาหวานยังไม่ไปไหน จริงหรือไม่ที่เชื่อกันว่า เบาหวานเกิดจากกินหวาน และโรคนี้มาจากพันธุกรรมหรือพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่กันแน่

ณัฐกานต์ อมาตยกุล

13 Feb 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก

8 Feb 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (3) : อำนาจของบัตรสงเคราะห์

คอลัมน์ “หลักประกันสุขภาพที่รัก” ตอนที่ 3 นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เล่าชีวิตหลังเรียนจบไปเป็นแพทย์ฝึกหัดที่จังหวัดเชียงราย ในยุคระบบบัตรสงเคราะห์ที่หมอมีอำนาจมหาศาลที่จะทำอะไรก็ได้ แม้กระทั่งสถาปนาตัวเองเป็นนักบุญที่มีแต่ “ให้” คือเซ็นฟรีให้ใครก็ได้

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

8 Feb 2018

Social Issues

5 Feb 2018

ยิ่งตรวจยิ่งดี ยิ่งมียิ่งคุ้ม? เหรียญสองด้านของเทคโนโลยีสแกนโรค

ภายใต้นวัตกรรมการ ‘สแกนโรค’ เพื่อตรวจหาโรคร้าย ด้วย CT Scan และ PET/CT Scan มีความเสี่ยงอะไรซ่อนอยู่ หลักในการประเมินต้นทุนและผลประโยชน์ก่อนตัดสินใจเลือกใช้เทคโนโลยีเหล่านี้คืออะไร ยิ่งตรวจยิ่งดี ยิ่งมียิ่งคุ้ม จริงหรือไม่

ภัทชา ด้วงกลัด

5 Feb 2018

Education

30 Jan 2018

เปิดโลกความรู้เด็กออทิสติกในสังคมไทย ผ่านสายตาของ รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ

รศ.ดร.ดารณี อุทัยรัตนกิจ อดีตอาจารย์ใหญ่โรงเรียนสาธิตเกษตร เล่าประสบการณ์ตรงกว่า 30 ปีในการดูแลเด็กออทิสติก และถอดบทเรียนการเปิดห้องเรียนให้เด็กออทิสติกได้เรียนร่วมกับเด็กปกติ

วันดี สันติวุฒิเมธี

30 Jan 2018

Social Problems

25 Jan 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (2) : คุ้มครองคนที่คุ้มครองตนเองไม่ได้

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ เปิดบันทึกความทรงจำ เล่าเรื่องความสำคัญของระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ากับงานด้านจิตเวช ในคอลัมน์ “หลักประกันสุขภาพที่รัก” ตอนที่ 2

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

25 Jan 2018

Health

19 Jan 2018

จำไว้ จะได้ไม่ลืมกัน : ‘ยากันลืม’ คู่มือเตือนความจำสำหรับทุกคน

คุณเป็นคนชอบถามอะไรซ้ำๆ หรือเปล่า?
คุณยังอายุไม่เยอะใช่ไหม?
คุณไม่ออกกำลังกาย?

รู้หรือเปล่าคุณมีโอกาสเป็นภาวะสมองเสื่อม!

ภาวะสมองเสื่อมมาไวกว่าที่คุณคิด

ให้คู่มือ “ยากันลืม” ช่วยสังเกต ป้องกัน และชะลอ ‘ภาวะสมองเสื่อม’ ไม่ให้เกิดขึ้นกับคุณและคนที่คุณรัก

จำไว้ให้ดี แล้วเราจะได้ไม่ลืมกัน

กองบรรณาธิการ

19 Jan 2018

Health

12 Jan 2018

อชิรวุธ สุพรรณเภสัช : โลกของหมอฟัน พิพิธภัณฑ์ช่องปาก และบทเรียนจากละครเวที

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล คุยกับ ‘หมอปอม’ ผศ.ดร.ทพ.อชิรวุธ สุพรรณเภสัช อาจารย์ทันตแพทย์หนุ่มไฟแรง ผู้มีความสามารถรอบด้าน และกำลังปลุกปั้น ‘พิพิธภัณฑ์ช่องปาก’ หมุดหมายการเรียนรู้แห่งใหม่ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชวนไปสำรวจชีวิตของหมอฟันที่กล้าพาตัวเองออกจากพื้นที่แคบๆ และริเริ่มสิ่งใหม่ๆ ในแบบที่ตัวเองเชื่อ

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

12 Jan 2018

Health

11 Jan 2018

“ล้มคนเดียว เจ็บทั้งบ้าน” ยากันล้ม : คู่มือป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ

การหกล้มหนึ่งครั้ง คุณอาจไม่ได้แค่เจ็บตัว แต่อาจเจ็บใจ (ที่น่าจะรู้วิธีป้องกันก่อน) และอาจเจ็บลามไปถึงคนใกล้ตัว ที่ต้องเข้ามาช่วยดูแล

จะดีแค่ไหน ถ้าเรามี “ยากันล้ม” ที่มีสรรพคุณเป็นคู่มือป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ

กองบรรณาธิการ

11 Jan 2018

Social Problems

11 Jan 2018

หลักประกันสุขภาพที่รัก (1) : 3 ปีหรือ 33 ปีที่สูญหาย?

นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ ประเดิมคอลัมน์ใหม่ “หลักประกันสุขภาพที่รัก” บันทึกชีวิตและความคิดตลอด 33 ปีในระบบสาธารณสุขไทย บอกเล่าเหตุการณ์เล็ก-ใหญ่ ผ่านมุมมองของหมอคนหนึ่ง ที่เชื่อมั่นในหลักประชาธิปไตย การพัฒนา และงานสาธารณสุขที่เห็นชาวบ้านเป็นศูนย์กลาง

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

11 Jan 2018

Health

28 Dec 2017

เพราะเรามีกันและ ‘กัญ’

ธิติ มีแต้ม เล่าประสบการณ์ความป่วยไข้จากโรคอันดับหนึ่งของสังคมไทยที่พรากชีวิตผู้คนไปมากกว่าหกหมื่นคนต่อปี ก่อนจะพาไปสำรวจโลกของกัญชาทางการแพทย์ ผ่านทั้งผู้ผลิตและผู้ใช้ พร้อมคำอธิบายจากแพทย์ว่าทำไมวินาทีนี้กัญชาควรถูกกฎหมายเพื่อให้ทุกคนได้เข้าถึงการรักษาเสียที

ธิติ มีแต้ม

28 Dec 2017

Trends

22 Dec 2017

น้ำตาล น้ำตา และชีวิต

วรากรณ์ สามโกเศศ เปิดข้อมูลงานวิจัยไทยและโลก สะกิดเตือนว่า “น้ำตาล” ไม่ต่างจาก “ยาพิษ” กิน “น้ำตาล” มากๆ บ่อยๆ จะเสีย “น้ำตา” กระทั่งเพิ่มความเสี่ยงที่จะเสียชีวิต

วรากรณ์ สามโกเศศ

22 Dec 2017

Interviews

19 Dec 2017

รู้ทัน “ความไม่รู้” เรื่อง “โรคหัวใจ” กับ นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์

นพ.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตอบคำถาม วันดี สันติวุฒิเมธี เพื่อแก้สารพัดข้อสงสัยและความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ “โรคหัวใจ” ในสังคมไทย

วันดี สันติวุฒิเมธี

19 Dec 2017
1 14 15 16 17

MOST READ

Phenomenon

11 Apr 2024

จาก ‘หลานม่า’ ถึงปรากฏการณ์ผู้สูงวัยใน TikTok : caregiver และการออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ในทางสังคม

คอลัมน์ ‘Phenomenon’ สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา พาสำรวจปรากฏการณ์ ‘หลานม่า’ และผู้สูงวัยใน Tik Tok สะท้อนเรื่องการดูแลผู้สูงอายุซึ่งถูกผลักให้เป็นเพียงเรื่องของปัจเจกและความกตัญญู จุดประเด็นให้มีการจัดการทางสังคมแบบใหม่เพื่อออกแบบ ‘วาระสุดท้าย’ ให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสู่สังคมผู้สูงอายุ

โตมร ศุขปรีชา

11 Apr 2024

กระจายอำนาจคือคำตอบ

24 Apr 2024

ผลิตจิตแพทย์

เมื่อปัญหาจิตแพทย์ขาดแคลนเป็นเพียงภาพสะท้อนปลายเหตุ นายแพทย์ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์ จึงชวนดูต้นเหตุของเรื่องนี้ ซึ่งโยงใยปัญหานานา

ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์

24 Apr 2024

Life & Culture

24 Apr 2024

โรคซึมเศร้าของคนเฒ่าคนแก่: ยิ่งสูงวัย ยิ่งเศร้า ยิ่งเข้าถึงยาก

101 ชวนสำรวจปัญหาโรคซึมเศร้าในผู้สูงวัย เมื่อโรคนี้ไม่ได้เกิดแค่กับคนวัยหนุ่มสาว แต่กลายเป็น ‘โรคเงียบ’ ของคนเฒ่าคนแก่

พรสุดา เสริฐจันทึก

24 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save