fbpx

World

30 Jun 2017

สหราชอาณาจักรในกระบวนการ Brexit: จากวิกฤตความชอบธรรมสู่วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ?

จิตติภัทร พูนขำ สำรวจสถานการณ์ 1 ปี หลังจากสหราชอาณาจักรลงมติแยกตัวออกจากสหภาพยุโรป 1 ปีผ่านไป สหราชอาณาจักรเผชิญทั้ง ‘วิกฤตความชอบธรรมของรัฐบาล’ และ ‘วิกฤตอัตลักษณ์แห่งชาติ’ อย่างหนักหน่วง กระบวนการ Brexit อีกสองปีจากนี้จะเดินหน้าอย่างไรท่ามกลางวิกฤตคู่

จิตติภัทร พูนขำ

30 Jun 2017

World

27 Jun 2017

Can a UK-EU Brexit deal really emerge from this chaos?

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์ ประเดิมคอลัมน์ใหม่ LÉMAN | Letter from Europe

อ่านเรื่องเล่าเกี่ยวกับยุโรปในสารพัดมิติ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ส่งตรงจากบ้านพักริมทะเลสาบใหญ่ใจกลางยุโรป ด้วยมุมมองสดใหม่จากพื้นที่จริง ผสมผสานประสบการณ์คร่ำหวอดจากการทำงานในองค์การการค้าโลก (WTO) เกือบ 20 ปี

เริ่มตอนแรกว่าด้วย Brexit หลังการเลือกตั้งใหญ่ อังกฤษจะก้าวเดินต่อไปอย่างไร

พีเทอร์ ไมตรี อึ๊งภากรณ์

27 Jun 2017

China

26 Jun 2017

China’s Disruptors

ใครสงสัยว่าธุรกิจจีนมีดีแค่ลอก หรือนักธุรกิจจีนเก่งจริงไหม สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ China’s Disruptors ของ เอ็ดเวิร์ด เซ ผู้เชี่ยวชาญด้านกลยุทธ์ทางธุรกิจจีน ที่เปิดมุมมองอีกด้าน ชี้ให้เห็นพลวัตและนวัตกรรมเขย่าโลกจากธุรกิจจีน ผ่านโมเดลธุรกิจของ Alibaba, Tencent, Xiaomi, Huawei และ Haier

สฤณี อาชวานันทกุล

26 Jun 2017

Trends

23 Jun 2017

Homo Deus : ทำไมมนุษย์จะไม่ครองโลกตลอดไป

วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าเรื่อง Homo Deus หรือ human god หนังสือเล่มต่อของ Yuval Noah Harari ผู้เขียน Sapiens อันโด่งดัง มาค้นหาว่าเมื่อมนุษย์เป็นสัตว์ที่ประสบความสำเร็จที่สุดในการครองโลก แล้วเราจะสามารถดำรงสถานะเช่นนี้อยู่ได้ตลอดไปหรือไม่

วรากรณ์ สามโกเศศ

23 Jun 2017

Global Affairs

19 Jun 2017

ISIS: ถลก – ปก – เปิด

ทำความรู้จักสองนิตยสาร terrorist-made จาก ISIS กลุ่มก่อการร้ายที่ป๊อบที่สุดแห่งยุคสมัย กับพลังของสื่อนิตยสารของพวกเขาที่แข็งแกร่งเกินกว่าที่เราจะคาดคิด

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

19 Jun 2017

Trends

9 Jun 2017

The End of Sex?

อาร์ม ตั้งนิรันดร เล่าเรื่องอนาคตเมื่อเทคโนโลยีใหม่ทำให้การทำเด็กหลอดแก้วกลายเป็นเรื่องง่ายและถูก จนเป็นทางเลือกปกติธรรมดาสำหรับทุกคน แถมยังรู้และเลือกลักษณะพันธุกรรมเด่นและด้อยของลูกได้ตั้งแต่ต้นทางอีกด้วย

การมีเพศสัมพันธ์เพื่อสืบพันธุ์จะถึงกาลอวสานหรือไม่ และอะไรคือปัญหาทางสังคม เศรษฐกิจ และจริยธรรมที่จะเกิดขึ้นตามมา

อาร์ม ตั้งนิรันดร

9 Jun 2017

Global Affairs

5 Jun 2017

4 สุดยอดรัฐโดดเดี่ยวที่ไม่ยอมคบใคร (หรือไม่มีใครคบ?)

ไปทำความรู้จักกับ ‘รัฐโดดเดี่ยว’ (Isolated States) กัน รัฐแบบนี้มีอยู่จริงในโลกนี้ แต่จะโดดเดี่ยวขนาดไหน ไม่ต้องพึ่งพาใครเลยจริงหรือเปล่า – วชิรวิทย์ คงคาลัย จะพาเราไปดูกัน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

5 Jun 2017

Global Affairs

26 May 2017

เส้นทางสายไหมใหม่: ภูมิรัฐศาสตร์มหาเกมในยูเรเชีย

“เส้นทางสายไหมใหม่” ไม่ใช่แค่เรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจและโครงสร้างพื้นฐานเท่านั้น จิตติภัทร พูนขำ สวมแว่น “ภูมิรัฐศาสตร์โลก” เพื่อวิเคราะห์เส้นทางสายไหมใหม่ในฐานะการแข่งขันระหว่างมหาอำนาจระดับโลก ทั้งสหรัฐอเมริกาและจีน ในกระดาน “มหาเกม” (great game) แห่งยูเรเชีย

จิตติภัทร พูนขำ

26 May 2017

Global Affairs

24 May 2017

พลเรือนควบคุมทหาร : หนทางสู่ประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์ สำรวจข้อถกเถียงเรื่องการปฏิรูปกองทัพ ทำอย่างไรให้กองทัพอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาลพลเรือนเพื่อสร้างประชาธิปไตยที่มีเสถียรภาพ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

24 May 2017

US

19 May 2017

โต๊ะทรัมป์: ธรรมดาเสียที่ไหน

ขึ้นชื่อว่าโต๊ะทำงาน ไม่ว่าจะเป็นโต๊ะในออฟฟิศทั่วไปหรือโต๊ะในทำเนียบขาว ก็สามารถบอกอะไรได้หลายอย่างเกี่ยวกับเจ้าของของมัน เราจะพาไปสำรวจโต๊ะทำงานของ โดนัลด์ ทรัมป์ ว่าจะสะท้อนตัวตนของเขาอย่างไรบ้าง
ไปดูกัน

วชิรวิทย์ คงคาลัย

19 May 2017

Trends

19 May 2017

คอมพิวเตอร์ไม่มีวันปลอดภัย

มารู้จัก WannaCry มัลแวร์เรียกค่าไถ่ ซึ่งกำลังระบาดหนักทั่วโลกให้มากขึ้น เพราะผลที่เกิดขึ้นอาจหมายถึงความตายของผู้คน วรากรณ์ สามโกเศศ เล่าสาเหตุหลักว่าทำไมคอมพิวเตอร์ถึงไม่มีวันปลอดภัย และผู้บริโภคอย่างเราต้องต่อสู้ภายใต้ความเสี่ยงนี้อย่างไร

วรากรณ์ สามโกเศศ

19 May 2017

World

16 May 2017

พม่าหลังการเลือกตั้ง : 1 ปีผ่านไปไวเหมือนโกหก

ลลิตา หาญวงษ์ ประเมินสถานการณ์การเมืองพม่าหนึ่งปีกว่าให้หลังการเลือกตั้งแห่งความหวัง

สองปัญหาใหญ่ – เรื่องการเจรจาสันติภาพกับชนกลุ่มน้อย และ เรื่องโรฮิงยา – สั่นคลอนรัฐบาลพลเรือนพม่าอย่างไร

เมื่อ ออง ซาน ซู จี ก้าวขึ้นสู่อำนาจเต็มตัว เธอทำให้กองเชียร์ผิดหวังหรือสมหวังอย่างไร

ใครอยากรู้เบื้องลึกเบื้องหลังการเมืองพม่ายุคหลังเลือกตั้ง ห้ามพลาด!

ลลิตา หาญวงษ์

16 May 2017

Global Affairs

15 May 2017

ถ้าสองเกาหลีรวมร่าง!

เคยสงสัยกันไหมครับ ว่าถ้าเกาหลีเหนือและเกาหลีใต้จะกลับมารวมกันเป็นหนึ่งอีกครั้งนี่ จะเป็นไปได้ไหม และถ้าจะรวมกันจริงๆแล้ว มีกระบวนการอย่างไร หรือมีปัญหาอะไรบ้าง

วชิรวิทย์ คงคาลัย

15 May 2017

Global Affairs

12 May 2017

วิธีอ่านสถานการณ์ 101

ศุภมิตร ปิติพัฒน์ เปิดเคล็ดวิชา “การอ่านสถานการณ์ 101” สำหรับอ่านสถานการณ์การเมืองโลก ตั้งแต่ “อ่านการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์” จนถึง “อ่านลงไปในตัวสถานการณ์”

ศุภมิตร ปิติพัฒน์

12 May 2017
1 87 88 89 90

MOST READ

Interviews

5 May 2024

สวนกล้วยของคนจีน-ชีวิตอาบสารเคมีของคนลาว: เสถียร ฉันทะ

101 คุยกับ ผศ.ดร.เสถียร ฉันทะ ผู้ทำวิจัยเรื่องสวนกล้วยจีนในลาวและพม่า ถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นและการคืบคลานของสวนกล้วยจีนที่ขยายไปในลุ่มน้ำโขง อย่างพม่าและกัมพูชา

วจนา วรรลยางกูร

5 May 2024

Asean

1 May 2024

‘ลี เซียนลุง’ สู่ ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ : การสืบทอดอำนาจสู่ผู้นำรุ่น 4 ในยุคที่การรักษาอำนาจการเมืองสิงคโปร์ไม่ง่ายเหมือนเคย

101 วิเคราะห์การเปลี่ยนผ่านอำนาจของสิงคโปร์สู่ผู้นำรุ่นที่ 4 ‘ลอว์เรนซ์ หว่อง’ ในวันที่พรรค PAP ที่ผูกขาดอำนาจมานาน อาจรักษาอำนาจยากขึ้น

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

1 May 2024

INDONESIA CHANGE 2024

21 Apr 2024

“แพ้ ก็ดีกว่าไม่ทำอะไร” คุยกับขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย กับการต่อสู้ครั้งใหม่ในยามประชาธิปไตยใกล้ริบหรี่

101 คุยกับนักเคลื่อนไหวในขบวนการนักศึกษาอินโดนีเซีย ถึงแนวทางการต่อสู้ ในวันที่ประชาธิปไตยของประเทศกำลังถูกคุกคาม

วงศ์พันธ์ อมรินทร์เทวา

21 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save