fbpx

Books

7 Jan 2020

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2020 โดยคอลัมนิสต์ 101

ปี 2020 เริ่มต้นขึ้นแล้ว และแม้ช่วงวันหยุดกำลังจะสิ้นสุดลง แต่เรายังมีหนังสือดีๆ ที่อยากชวนให้ทุกคนได้อ่านกัน (หรืออย่างน้อยเก็บไว้ในลิสต์หนังสือที่ ‘น่าจะอ่าน’ ในปี 2020 ก็ยังดี)

เพราะนี่คือหนังสือที่เหล่า contributor ของ 101 รวมทั้งสิ้นกว่า 40 ชีวิต มาช่วยกันแนะนำ โดยเราให้แต่ละคนเลือกหนังสือ 1 เล่ม ที่คิดว่าเหมาะสำหรับวาระเปลี่ยนผ่านจากปี 2019 สู่ปี 2020 พร้อมเหตุผลสั้นๆ ว่าหนังสือเล่มนั้นน่าสนใจอย่างไร

กองบรรณาธิการ

7 Jan 2020

Books

7 Jan 2020

‘Tangerine เปล่า เปลือง เชื่อง ช้ำ’ กับทางหลายแพร่งของการเขียน

อาทิตย์ ศรีจันทร์ เขียนวิจารณ์วิธีเล่าเรื่อง ‘เซ็กซ์’ ในรวมเรื่องสั้น ‘Tangerine เปล่า เปลือง เชื่อง ช้ำ’ วรรณกรรมว่าด้วยความสัมพันธ์ซับซ้อนของชายรักชายโดย กวีวัธน์

อาทิตย์ ศรีจันทร์

7 Jan 2020

Books

5 Feb 2019

“สมมติเด็กในท้องฉันเป็นลูกสาวอีก …จะทำยังไง” คิมจียอง เกิดปี 82 : เมื่อ ‘ผู้หญิง’ เป็นเรื่องเศร้า

‘คิมจียอง เกิดปี 82’ หนังสือที่สร้างแรงกระเพื่อมอย่างมากในเกาหลี กลายเป็นสัญลักษณ์ของการลุกขึ้นมาเรียกร้องสิทธิของผู้หญิง แม้จะเป็นการเล่าเรื่องชีวิตธรรมดาสามัญของผู้หญิงคนหนึ่ง แต่แทบทั้งเรื่องก่อให้เกิดความรู้สึกอึดอัดคับข้องใจกับความไม่เท่าเทียมทางเพศในสังคม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

5 Feb 2019

Projects

27 Dec 2018

ความน่าจะอ่าน : หนังสือชวนอ่านรับปี 2019 โดยคอลัมนิสต์ 101

‘ความน่าจะอ่าน’ ส่งท้ายปี 2561 กองบรรณาธิการ 101 ชวนทีมคอลัมนิสต์และผู้ดำเนินรายการประจำ 101 แนะนำหนังสือชวนอ่านรับปี 2562 เพื่อเป็นของขวัญปีใหม่ให้แก่ผู้อ่านและผู้ชม 101 ทุกท่าน

กองบรรณาธิการ

27 Dec 2018

Life & Culture

29 Sep 2018

ผุดเกิดมาลาร่ำ ความงามของความตาย

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย เขียนถึง ‘ผุดเกิดมาลาร่ำ’ นวนิยายเล่มแรกในชีวิตของ อารยา ราษฎร์จำเริญสุข ศิลปินศิลปาธร ผู้มองความตายในแง่งาม

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

29 Sep 2018

READ-O-SAPIENS

25 Apr 2018

เบสเมนต์ มูน: ไซไฟในสังคมไม่เสรี

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึง เบสเมนต์ มูน นิยายเล่มล่าสุดของ ปราบดา หยุ่น ว่าด้วยโลกอนาคตในปี 2069 ที่ปัญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการคนเห็นต่างกับรัฐบาลเผด็จการ ในประเทศเผด็จการทั่วโลก หนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย นิยายเสียดสีอย่างแสบสันต์และพูดถึงปรัชญาไซไฟกับการเมืองได้น่าสนใจ

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

25 Apr 2018

TREND RIDER

22 Feb 2018

มองเมืองผ่านวรรณกรรม : ‘เนื้อเมือง’ ใน ‘พุทธศักราชอัสดง กับทรงจำของทรงจำ ของแมวกุหลาบดำ’

Trend Rider สัปดาห์นี้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจความเปลี่ยนแปลงของเมืองผ่านวรรณกรรมซีไรต์ ‘พุทธศักราชอัสดง กับทรงจำของทรงจำ ของแมวกุหลาบดำ’

เมืองในหนังสือเล่มนี้ จะทำให้เรามองเห็นอะไร นอกจากเนื้อหาและภาษาที่สวยงาม ชวนมาอ่านเมืองในหนังสือเล่มนี้ไปพร้อมกัน

โตมร ศุขปรีชา

22 Feb 2018
1 7 8

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save