fbpx

Media

4 Nov 2022

จาก ‘เมนู’ สู่ ‘เมลิญณ์’ เมื่อถูกรัฐคุกคาม เยาวชนจึงลี้ภัย

เมลิญณ์ หรือชื่อเดิมคือ ‘เมนู-สุพิชฌาย์ ชัยลอม’ เยาวชนนักเคลื่อนไหวการเมือง จำต้องลี้ภัยออกนอกประเทศ หลังถูกคุกคามอย่างหนัก

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

4 Nov 2022

Politics

3 Nov 2022

ประเมินสถานะการกระจายอำนาจ: 2 ทศวรรษที่ยังไปไม่ถึงเป้า

101 PUB ชวนสำรวจสถานะของการกระจายอำนาจท้องถิ่นในประเทศไทยในช่วงเวลากว่าสองทศวรรษที่ผ่านมาว่ามีพลวัตเป็นอย่างไรและมีปัญหาใดบ้างที่รอการแก้ไขเพื่อให้ท้องถิ่นสามารถบริหารจัดการได้ดีกว่าที่เป็นอยู่

สรวิศ มา

3 Nov 2022

Books

3 Nov 2022

แลไปข้างหลัง มองพลังการเปลี่ยนแปลงสังคม ผ่าน ‘แลไปข้างหน้า’

กษิดิศ อนันทนาธร เขียนถึงนวนิยาย ‘แลไปข้างหน้า’ ของศรีบูรพา ที่สะท้อนภาพสังคมไทยปลายสมัยรัชกาลที่ 7 และเมื่อเกิดการอภิวัฒน์ 2475 แต่ให้ข้อคิดเกี่ยวกับการเมืองปัจจุบันได้อย่างดี

กษิดิศ อนันทนาธร

3 Nov 2022

Politics

2 Nov 2022

‘จินตนาการใหม่ของเยาวชนไทย’ ถึงเวลาออกจากโลกเก่าสู่การสร้างอนาคตที่คนรุ่นใหม่ปรารถนา

สรุป Research Roundup 2022 หัวข้อ “จินตนาการใหม่ของเยาวชนไทย” โดย ศูนย์ความรู้นโยบายเด็กและครอบครัว (คิด for คิดส์)

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

2 Nov 2022

Thai Politics

2 Nov 2022

“เขาหาว่าแม่ฉันเป็นผู้หญิงหากิน” การแจ้งเกิดของวัฒน์ วรรลยางกูรในนิตยสารยานเกราะ

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงจังหวะชีวิตของวัฒน์ วรรลยางกูรกับนิตยสารยานเกราะ ที่เป็นทั้งนิตยสารแจ้งเกิดเส้นทางนักเขียนและผลักให้เขาต้องหลบลี้ภัยการเมืองเมื่อ 6 ตุลาคม 2519

อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ

2 Nov 2022

Thai Politics

1 Nov 2022

ประวัติศาสตร์ ความทรงจำ และ 6 ตุลาฯ ที่อยากจำแต่กลับลืม

อติเทพ ไชยสิทธิ์ เขียนถึงการจัดการกับความทรงจำร่วมในสังคมไทยอย่างเหตุการณ์ 6 ตุลา ว่าทำไมการรำลึกจึงอาจถือว่าเป็นการลืมรูปแบบหนึ่ง และเราควรจะจดจำเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีตอย่างไร

อติเทพ ไชยสิทธิ์

1 Nov 2022

Politics

31 Oct 2022

การต่อสู้ที่ไม่จบสิ้นของ ‘วิญญัติ ชาติมนตรี’ ทนายจำเลยคดีการเมืองในโลกสองมาตรฐาน

101 พูดคุยกับวิญญัติ ชาติมนตรี ถึงชีวิตที่ผ่านมาของเขาตั้งแต่ก่อนเข้าสู่โลกกฎหมายและจุดเปลี่ยนแปลงในชีวิตทนายความที่เริ่มมาทำคดีการเมืองอย่างต่อเนื่องจนปัจจุบัน

วจนา วรรลยางกูร

31 Oct 2022

Media

31 Oct 2022

กำไลอีเอ็ม ตรวนแห่งศตวรรษที่ 21 และการถูกพรากอิสรภาพโดยรัฐ

‘กำไลอีเอ็ม ตรวนแห่งศตวรรษที่ 21 และการถูกพรากอิสรภาพโดยรัฐ’ วิดีโอที่สำรวจภาวะลักลั่นของกระบวนการยุติธรรมไทย ที่ใช้กำไลอีเอ็มอันเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่คืนเสรีภาพให้มนุษย์ มาใช้กับคนที่ต้องคดีอาญาเพียงเพราะใช้เสรีภาพในการแสดงออก

กองบรรณาธิการ

31 Oct 2022

Politics

31 Oct 2022

การคุกคามใต้ความสงบเงียบ : ชีวิตที่ไม่ปลอดภัย เมื่อรัฐไทยไม่ปล่อยให้เยาวชนส่งเสียง

ฟังเสียงนักกิจกรรมเยาวชนที่ออกไปแสดงความเห็นทางการเมืองตามสิทธิเสรีภาพ แต่กลับต้องเผชิญการคุกคามจากเจ้าหน้าที่รัฐอย่างต่อเนื่องถึงทุกวันนี้

ภาวรรณ ธนาเลิศสมบูรณ์

31 Oct 2022

Politics

28 Oct 2022

101 In Focus Ep.152: ควบรวมทรู – ดีแทค: ปัญหาของมติ ‘รับทราบ’ การควบรวม

101 in focus สัปดาห์นี้สนทนาถึงประเด็นมหากาพย์การควบรวมระหว่างทรู (TRUE) และดีแทค (DTAC) ในแง่มุมการส่งผลกระทบต่อผู้บริโภค

กองบรรณาธิการ

28 Oct 2022

Kid For Kids

28 Oct 2022

ก้าวต่ออย่างไร เมื่อเด็กไทยเรียนรู้ถดถอยจากการปิดโรงเรียนช่วงโควิด?

สรุป Research Roundup 2022 หัวข้อ โควิดกับ ‘แผลเป็น’ ด้านพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและเยาวชน : ความเหลื่อมล้ำ เทคโนโลยีการศึกษา และบทเรียนเชิงนโยบายสำหรับอนาคต’ โดย คิด for คิดส์

ภัทรธิดา ไทยอุส่าห์

28 Oct 2022

Politics

28 Oct 2022

เมื่อแสดงออกตามสิทธิ จึงถูกจำกัดเสรีภาพ: ชีวิตภายใต้พันธนาการของกำไลอีเอ็ม

กำไลติดตามตัวหรือกำไลอีเอ็มเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อคืนเสรีภาพให้ผู้ต้องหา หากแต่เมื่อมันถูกนำมาใช้กับกลุ่มคนที่ต้องคดีจากการแสดงความคิดเห็นตามสิทธิเสรีภาพที่พึงมี ก็ชวนให้ตั้งคำถามถึงภาวะแห่ง ‘ความย้อนแย้ง’ ของกำไลอีเอ็มและระบบความยุติธรรมในไทย

พิมพ์ชนก พุกสุข

28 Oct 2022

Justice & Human Rights

26 Oct 2022

ให้เสียงเยาวชนมี ‘ความหมาย’: เปิดกระบวนการนโยบายให้เยาวชนมีส่วนร่วม

คิด for คิดส์ ชวนสำรวจปัญหาการขาดช่องทางการมีส่วนร่วมอย่าง ‘มีความหมาย’ ของเยาวชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ และเสนอแนวทางขยายช่องทางดังกล่าว เพื่อให้นโยบายตอบสนองปัญหาและความต้องการของเยาวชนได้ดีขึ้น

วรดร เลิศรัตน์

26 Oct 2022

Politics

26 Oct 2022

กองทัพ-ตำรวจ กับการเมือง และความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ทวีความรุนแรง

ภายหลังเหตุโศกนาฏกรรมที่หนองบัวลำภู ทำให้กระแสการปฏิรูปตำรวจถูกเป็นที่พูดถึงในสังคมอีกครั้ง 101 จึงชวน พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและเลขาธิการพรรคประชาชาติ อดีตเลขาธิการศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ มาสนทนาถึงประเด็นอันแหลมคมและร้อนระอุในสังคมขณะนี้ ว่าการปฏิรูปตำรวจและกองทัพนั้นจะเกิดขึ้นได้อย่างไร ตลอดจนท่าทีต่อประเด็นนี้ในสนามเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง

ภัคจิรา มาตาพิทักษ์

26 Oct 2022

Kid For Kids

26 Oct 2022

เพิ่มทรัพยากร-สร้างทางเลือก-สนับสนุนสิทธิ: สามเสาหลักนโยบายสาธารณะเพื่อเด็กและเยาวชนไทยในโลกใหม่

101 สรุปเนื้อหาจาก Research Roundup 2022 หัวข้อ ‘นโยบายเด็กและครอบครัวแห่งอนาคต: ขยายพื้นที่ปฏิรูปนโยบายสาธารณะเพื่ออนาคตของเด็กไทย’

กองบรรณาธิการ

26 Oct 2022
1 26 27 28 107

MOST READ

Life & Culture

31 Mar 2024

ประเทศไทยจะแต่งตัวยังไง? ขายรสนิยมแบบไหน?  คุยกับ ‘กมลนาถ องค์วรรณดี’ ถึง 3 เดือน ในตำแหน่งคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น

101 สนทนากับ กมลนาถ องค์วรรณดี ถึงประสบการณ์ 3 เดือนของการทำงานในฐานะคณะกรรมการซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น และอนาคตของอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

กองบรรณาธิการ

31 Mar 2024

My Voice

10 Apr 2024

ระบอบทักษิณ-ระบอบประยุทธ์ จุดเริ่มต้นแตกต่าง ปลายทางเดียวกัน

ประทีป คงสิบ ชวนมองเปรียบเทียบ ‘ระบอบทักษิณ’ กับ ‘ระบอบประยุทธ์’ จากจุดเริ่มต้นที่แตกต่าง แต่ปลายทางกลับมีจุดหมายเดียวกัน

ประทีป คงสิบ

10 Apr 2024

Public Policy

12 Apr 2024

‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ คนไทยได้อะไร? เสียอะไร?

101 PUB ชวนอ่านบทวิเคราะห์นโยบาย ‘ดิจิทัลวอลเล็ต’ หลังรัฐบาลแถลงรายละเอียด 10 เม.ย. 2024 การแจกเงิน 10,000 บาทนี้ คนไทยจะได้และเสียอะไรบ้าง

ฉัตร คำแสง

12 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save