fbpx

Interviews

22 Aug 2018

คนประหลาดในโลกประหลาด : สนทนาวิทยาศาสตร์กับ FREAK lab

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย คุยกับสองนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่แห่ง ‘FREAK Lab’ ผู้มีส่วนร่วมในการส่ง ‘ทุเรียน’ และสัมภาระอื่นๆ ขึ้นไปยังอวกาศ ร่วมกับบริษัท Blue Origin ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายเดือนกรกฏาคมที่ผ่านมา

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

22 Aug 2018

Third Eye View

2 Aug 2018

ความคิดซ่อนไม่ได้ เมื่อเทคโนโลยีอ่านใจเราอยู่

จะเป็นอย่างไรถ้าความรู้สึกถูกอ่านได้ด้วยเทคโนโลยี ?
แอบชอบใครไม่ต้องเดาใจ เอามือถือไปสแกนหน้าเป็นอันหมดเรื่อง
เห็นภาพเพื่อนหน้าแย่ ตัดผมทรงใหม่ไม่ได้เรื่องในเฟซบุ๊ก ระบบขึ้น ‘โกรธ’ ให้อัตโนมัติ
ร่วมสำรวจเทคโนโลยีที่ทำให้การอ่านความรู้สึกได้อยู่ใกล้แค่เอื้อม! ไปกับคอลัมน์ #ThirdEyeView โดย Eyedropper Fill

อายดรอปเปอร์ ฟิลล์

2 Aug 2018

TREND RIDER

12 Jul 2018

เทรนด์ของวัสดุอวกาศ

เหตุผลหนึ่งที่ผู้คนจับตา ‘อีลอน มัสก์’ คือความทุ่มเทที่เขามีให้กับ ‘วัสดุอวกาศ’ วัสดุที่อาจนำพามนุษยชาติไปสู่พรมแดนใหม่ได้ โตมร ศุขปรีชา ชวนสำรวจเทรนด์ของวัสดุแห่งอนาคตว่ามีอะไรบ้าง และกว่าจะผลิตขึ้นมาได้ยากเย็นแค่ไหน

โตมร ศุขปรีชา

12 Jul 2018

READ-O-SAPIENS

25 Apr 2018

เบสเมนต์ มูน: ไซไฟในสังคมไม่เสรี

ภาคิน นิมมานนรวงศ์ เขียนถึง เบสเมนต์ มูน นิยายเล่มล่าสุดของ ปราบดา หยุ่น ว่าด้วยโลกอนาคตในปี 2069 ที่ปัญญาประดิษฐ์จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการจัดการคนเห็นต่างกับรัฐบาลเผด็จการ ในประเทศเผด็จการทั่วโลก หนึ่งในนั้นมีประเทศไทยรวมอยู่ด้วย นิยายเสียดสีอย่างแสบสันต์และพูดถึงปรัชญาไซไฟกับการเมืองได้น่าสนใจ

ภาคิน นิมมานนรวงศ์

25 Apr 2018

POETIC

18 Mar 2018

กวีในวิทยาศาสตร์

การเดินทางของแสง สปีชีส์ และบทกวีไปด้วยกันได้อย่างไร ชลธร วงศ์รัศมี บอกเล่าในคอลัมน์
Poetic ว่าบทกวีและวิทยาศาสตร์มีสัมพันธ์เกี่ยวกระหวัดกันมากกว่าที่คิด

ชลธร วงศ์รัศมี

18 Mar 2018

Interviews

12 Mar 2018

ไดโนเสาร์ติดปีก นักประดิษฐ์อนาคต : พัทน์ ภัทรนุธาพร เด็กไทยในวงการวิทยาศาสตร์โลก

จากปัตตานีสู่ MIT Media Lab คุยกับ พัทน์ ภัทรนุธาพร หรือ พีพี นักประดิษฐ์อนาคตด้วยนวัตกรรมล้ำยุค เช่น เครื่องปรินต์อาหารสามมิติบนอวกาศ มารู้จักชีวิตและมุมมองด้านการศึกษา วิทยาศาสตร์ และสังคมไทยของนักวิทยาศาสตร์หนุ่มด้าน Biotechnology ผู้อยากเป็นไดโนเสาร์ติดปีก

ปาณิส โพธิ์ศรีวังชัย

12 Mar 2018

Life & Culture

24 Feb 2017

มารู้จักกับ ‘ห้องแล็บขนมปัง’ กันเถอะ

คำว่า ‘ห้องแล็บขนมปัง’ หรือ Bread Lab ในที่นี้ ไม่ใช่ชื่อร้านขายขนมปังเก๋ๆ ที่ไหน แต่มันคือห้องแล็บที่เป็นห้องปฏิบัติการจริงๆ ของมหาวิทยาลัยแห่งรัฐวอชิงตัน หรือ The Washington State University ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อทำงานด้านขนมปังกันโดยเฉพาะ!

กองบรรณาธิการ

24 Feb 2017

Life & Culture

21 Feb 2017

พบ ‘แม่น้ำเหล็ก’ ใต้โลก!

ใครๆ ก็รู้ว่า ใต้โลกเป็นหินเหลว แต่นี่เป็นครั้งแรกที่ดาวเทียมจากอวกาศตรวจพบ ‘แม่น้ำเหล็ก’ ที่ร้อนจี๋อุณหภูมิเท่ากับพื้นผิวดวงอาทิตย์ กำลังไหลอยู่ใต้โลก แล้วไม่ได้ไหลช้าๆ ปีละมิลลิเมตรปีละนิ้ว แต่ไหลเร็วถึงปีละ 40 ถึง 45 กิโลเมตร ซึ่งในทางธรณีวิทยาแล้ว ถือว่าเร็วมาก

กองบรรณาธิการ

21 Feb 2017
1 2

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save