fbpx

World

28 Apr 2021

เหตุการณ์ที่ดุซงญอ เดือนเมษายน ปี 2491: กบฏดุซงญอ สงครามดุซงญอ หรือ ดุซงญอลุกขึ้นสู้?

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ดุซงญอ หนึ่งในประวัติศาสตร์บาดแผลของชาวมลายูปาตานี ที่ปัจจุบันยังมีความไม่ลงรอยกัน และมีการจำรวมถึงเล่าเหตุการณ์ที่แตกต่างกันมากมาย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

28 Apr 2021

World

18 Mar 2021

112 ปีของสนธิสัญญาแองโกล-สยาม: จากมุมของสี่รัฐมลายู กลันตัน ตรังกานู เคดะห์ และเปอร์ลิส

เนื่องในโอกาสครบรอบ 112 ปี สนธิสัญญาแองโกล-สยาม 1909 อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนทบทวนความสัมพันธ์ของสี่รัฐมลายูกับสยามก่อนปี 1909 และฉายภาพมุมมองของสี่รัฐมลายูที่มีต่อสนธิสัญญาดังกล่าว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Mar 2021

World

21 Feb 2021

เป็นทหารทำไมรวยจัง?: ทหารอินโดนีเซียกับธุรกิจตั้งแต่ประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล ชวนสำรวจความสัมพันธ์ของทหารอินโดนีเซียกับการทำธุรกิจ ตั้งแต่ช่วงหลังประกาศเอกราชจนถึงปัจจุบัน เพื่อตอบคำถามว่า “เป็นทหาร (อินโดนีเซีย) ทำไมรวยจัง?”

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Feb 2021

Justice & Human Rights

21 Jan 2021

การเมืองเรื่องศีลธรรม: สองทศวรรษของการใช้กฎหมายอิสลามที่อาเจะห์

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนเรื่องการบังคับใช้กฎหมายอิสลามอย่างเป็นทางการที่ ‘อาเจะห์’ จังหวัดปกครองพิเศษในประเทศอินโดนีเซีย ไล่เรียงตั้งแต่ความเป็นมา และประเด็นข้อถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์หลังการบังคับใช้กฎหมายแล้ว

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Jan 2021

World

21 Dec 2020

ครั้งหนึ่ง “ปาตานี” เกือบจะได้เป็นส่วนหนึ่งของ Melayu Raya (Indonesia Raya)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง Tengku Mahmood Mahyiddeen บุคคลสำคัญของปาตานีและผู้ที่มีบทบาทในประวัติศาสตร์มาเลเซีย รวมถึงแนวคิดทางการเมืองที่เรียกว่า Melayu Raya (Indonesia Raya) และเหตุการณ์ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Dec 2020

World

15 Oct 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (2)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงเรื่องราวหลังจาก ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

15 Oct 2020

World

21 Sep 2020

55 ปีเหตุการณ์เกสตาปู: การสังหารหมู่คอมมิวนิสต์ในอินโดนีเซีย (1)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึง ‘เหตุการณ์เกสตาปู’ จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์อินโดนีเซียในช่วงปี 2508-9 ซึ่งเป็นเหตุการณ์การสังหารหมู่ที่เลวร้ายที่สุดเหตุการณ์หนึ่งของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรือแม้กระทั่งของโลก

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

21 Sep 2020

World

20 Aug 2020

ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาของวิถีอาเซียน ภาษาของความเท่าเทียม (?)

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงอิทธิพลของภาษาอินโดนีเซียต่อการทำงานของสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) และวิถีอาเซียน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

20 Aug 2020

World

17 Jul 2020

ร่วมรากแต่ขัดแย้ง ความบาดหมางระหว่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงความขัดแย้งระหว่างประเทศมาเลเซียและอินโดนีเซีย ที่ทั้งสองประเทศมีรากเหง้าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมร่วมกันหลายอย่าง จนนำไปสู่ความขัดแย้งในการช่วงชิงความเป็นเจ้าของภาษาและวัฒนธรรมมลายู

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

17 Jul 2020

World

18 Jun 2020

การลักพาตัวและการบังคับบุคคลให้สูญหาย: ความรุนแรงโดยรัฐต่อประชาชนในอินโดนีเซีย

อรอนงค์ ทิพย์พิมล เขียนถึงการ ‘อุ้มหาย’ ที่เกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการเมืองของอินโดนีเซีย ปี 1997-1998 และยังคงทิ้งร่องรอยไว้ตราบจนถึงปัจจุบัน

อรอนงค์ ทิพย์พิมล

18 Jun 2020
1 3 4 5

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save