fbpx

In relationships with IR

23 Apr 2021

In relationships with IR Ep.1 : ศึก 5G จีน – สหรัฐ

เมื่อช่วงปี 2019 มีข่าวว่า (อดีต) ประธานาธิบดีสหรัฐฯ โดนัลด์ ทรัมป์ ประกาศแบนหัวเว่ย และชักชวนให้พันธมิตรของตนร่วมแบนหัวเว่ยด้วย แต่แบนหัวเว่ยทำไม หัวเว่ยมีความสำคัญอย่างไร เรื่องนี้เกี่ยวพันกับเกมช่วงชิงความเป็นมหาอำนาจโลกจีน-สหรัฐฯ อย่างไร ชวนหาคำตอบใน ‘In relationships with IR’ ตอนแรก

กานต์ธีรา ภูริวิกรัย

23 Apr 2021

Media

9 Apr 2021

เปิดเครื่องเนิร์ด Ep.1 : ทำยังไงชาติหน้าถึงจะเกิดเป็นหมาคนรวย?

ใครอยากเป็นหมาเศรษฐี? ฉันน่ะสิ ฉันน่ะสิ ในเมื่อชีวิตหมาคนรวยฟังดูดี๊ดี ‘เปิดเครื่องเนิร์ด’ จึงขอชวนมาหาวิธีทำให้ชาติหน้ามีโอกาสเกิดเป็นหมาคนรวยกัน

กองบรรณาธิการ

9 Apr 2021

Constitution Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา

1 Apr 2021

อิสระ – เป็นธรรม – รับผิดชอบ : ข้อเสนอใหม่ รีเซ็ต ‘องค์กรอิสระ’ ไทย

101 ถอดความจากงานเสวนาออนไลน์ Constitutional Dialogue : รัฐธรรมนูญสนทนา ครั้งที่ 4 ‘องค์กรอิสระ’ ร่วมขบคิดเพื่อออกแบบองค์กรอิสระให้กลับมาพร้อมความเป็นอิสระที่แท้จริง มีความรับผิดชอบและยึดโยงกับประชาชน รวมทั้งอาจจะต้องทบทวนถึงความจำเป็นและอำนาจหน้าที่ที่พึงมีขององค์กรอิสระแต่ละองค์กรอีกครั้ง

กองบรรณาธิการ

1 Apr 2021

World

23 Mar 2021

เสรีนิยมที่หายไป-โลกดิจิทัล-ความหวังบนท้องถนน: โจทย์ประชาธิปไตยโลกยุคหลังทรัมป์

ในวันที่ประชาธิปไตยโลกอยู่ในห้วงเวลาแห่งความพลิกผัน 101 ชวนธเนศ อาภรณ์สุวรรณ และ จันจิรา สมบัติพูนศิริ มองความท้าทายใหม่ของประชาธิปไตยโลกที่ต้องฟื้นจากอาการเอียงขวา เผชิญหน้ากับโลกดิจิทัล และฟังเสียงเรียกร้องบนท้องถนน

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Mar 2021

Education

9 Mar 2021

StartDee: จุดเริ่มต้นการเรียนรู้ดีๆ ที่ทุกคนเข้าถึง  

101 เปิดบ้าน StartDee Start-up การศึกษาไฟแรงที่นำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษาและยกระดับกระบวนการการเรียนรู้

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

9 Mar 2021

Spotlights

23 Feb 2021

‘When Family Changes Social Media’ : มองความสัมพันธ์ครอบครัวยุคดิจิทัล กับ แดเนียล มิลเลอร์

ในวันที่ส่วนหนึ่งของชีวิตครอบครัวอยู่บนโลกออนไลน์ 101 ชวน แดเนียล มิลเลอร์ สนทนาว่าด้วยความสัมพันธ์ครอบครัวบนโลกออนไลน์-ออฟไลน์ การเชื่อมต่อความห่าง-เว้นระยะความใกล้ชิด และความขัดแย้ง-ความลงรอยระหว่างวัยในโลกดิจิทัล ผ่านสายตาแบบมานุษยวิทยา

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Feb 2021

Bite-Sized Clip

19 Feb 2021

‘ซักฟอกนอกสภา’ ชวนประชาอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลประยุทธ์!

101 ลงพื้นที่ ชวนพี่น้องประชาชน ‘ซักฟอก’ รัฐบาลประยุทธ์ อภิปรายความกังขาต่อการทำงานของรัฐบาลชุดนี้

กองบรรณาธิการ

19 Feb 2021

Political Economy

12 Feb 2021

Marxism ตายแล้ว? : เราจะคืนชีพใหม่ให้ ‘มาร์กซ์’ ในศตวรรษที่ 21 ได้หรือไม่?

101 ถอดรหัสความคิดและมรดกของ ‘มาร์กซ์’ ผู้เสนอแนวคิดสังคมนิยมคอมมิวนิสต์ผ่าน 3 มุมมองจาก เกษียร เตชะพีระ, พิชิต ลิขิตสมบูรณ์ และสรวิศ ชัยนาม ในสรุปความจากงานเสวนา “อ่านมาร์กซ์ อ่านเศรษฐกิจการเมืองไทย” เพื่อหาคำตอบว่า มาร์กซ์คิดอะไร? มาร์กซ์ยังมีชีวิตอยู่ในศตวรรษที่ 21 หรือไม่? และเราจะมองมาร์กซ์กับการเมืองไทยได้อย่างไรบ้าง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Feb 2021

Democracy

5 Feb 2021

ผ่ารัฐประหารเมียนมา 2021 กับ ลลิตา หาญวงษ์

อนาคตการเมืองเมียนมาจะไปทางไหนต่อหลังจากการรัฐประหาร? 101 ชวน ลลิตา หาญวงษ์ จากภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ผู้ศึกษาเมียนมา มองปรากฏการณ์การรัฐประหารและทิศทางการเมืองเมียนมาหลังรัฐประหาร

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

5 Feb 2021

Global Affairs

26 Jan 2021

สมรภูมิ IR บนโลกไซเบอร์ กับ จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา

101 ชวน จิตทิพย์ มงคลชัยอรัญญา นักศึกษาปริญญาเอกจากมหาวิทยาลัยจอร์จ วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา ผู้สนใจเกี่ยวกับความมั่นคงระหว่างประเทศ สนทนาว่าด้วย ภูมิทัศน์ของการเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ขยับขยายปริมณฑลไปสู่โลกดิจิทัล จนกลายเป็นอีกสมรภูมิแห่งการงัดข้อกันระหว่างชาติมหาอำนาจ รวมไปถึงความพยายามของประชาคมโลกในการหา ‘ความมั่นคงบนโลกไซเบอร์’ ท่ามกลางความปั่นป่วนและไม่ลงรอยในความไม่สมานฉันท์ระหว่างประชาชาติ

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

26 Jan 2021

City

12 Jan 2021

คน-เมือง 2020 digital edition : จากกระแสแห่งอนาคต สู่ความปกติใหม่ (?) ในยุคโรคระบาด

ในโอกาสเปิดปี 2021 101 ชวนมองย้อน ‘ความเป็นเมือง’ และ ‘ชีวิตคนเมือง’ ที่ผ่านมาในปี 2020 ว่าต้องเผชิญกับมรสุมอะไรบ้าง และอะไรคือเค้าลางของอนาคตคน-เมืองที่กำลังจะผ่านเข้ามาในปี 2021 – และในอนาคต

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

12 Jan 2021

Thai Politics

18 Dec 2020

“รัฐต้องปล่อยให้ท้องถิ่นเป็นผู้เล่นอย่างแท้จริง” ก้าวต่อไปของเลือกตั้งท้องถิ่นและการกระจายอำนาจ กับ วีระศักดิ์ เครือเทพ

ในวันที่ท้องถิ่นเริ่มปรากฏความเคลื่อนไหวอีกครั้ง 101 สนทนากับ รศ.ดร. วีระศักดิ์ เครือเทพ อาจารย์ประจำภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ว่าด้วยการเลือกตั้งท้องถิ่น 2563 และการกลไกกระจายอำนาจไทย 20 ปีหลังทศวรรษแห่งการกระจายอำนาจที่อาจไม่ตอบโจทย์ ‘ท้องถิ่นไทย’ อีกต่อไปแล้ว

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

18 Dec 2020
1 8 9 10 12

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save