fbpx

Lifestyle

3 Nov 2020

โบราณคดีร่วมสมัยของศพไร้ชื่อ และ อาหารจานโปรดในความทรงจำของแม่

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงโบราณคดีร่วมสมัยที่บอกเล่าเรื่องราวของบุคคลล่องหน ผู้ยากไร้ แรงงานนอกระบบ ไปจนถึงผู้สูญหายในอดีต และชวนเข้าครัวทำ ‘เซวิเช’ อาหารจานโปรดของหญิงสาวชาวเม็กซิกันที่ถูกบังคับสูญหาย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Nov 2020

Lifestyle

3 Jun 2020

ขนมปัง กับ คนงานไร้ชื่อ: โรงครัวของคนงานสร้างพีระมิดแห่งเมืองกิซา

คอลัมน์ #โบราณการครัว ตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง สูตรขนมปังและวิถีชีวิตของคนงานสร้างพีระมิดแห่งกิซา (Giza) ที่จะทำให้เราได้เห็นเรื่องราวของมนุษย์ผู้อยู่เบื้องหลัง ต่างจากเรื่องเล่าแบบ “โบราณคดีอลังการ” หรือการสร้างเรื่องอดีตในเชิงโรแมนติก ประโลมโลกย์

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

3 Jun 2020

Lifestyle

28 Apr 2020

แกะรอยสาแหรกรสชาติจากเทคนิคการปรุง: จาก ‘ข้าวเม็กซิกัน’ สู่ ‘ข้าวผัดอเมริกัน’

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา พาสืบหาประวัติศาสตร์ที่มาของข้าวผัดอเมริกัน ผ่านการปรุงอาหารของคนในอดีต จาก “ข้าวสเปน” ในเม็กซิโก, “ข้าวเม็กซิกัน” ในอเมริกา, สู่ “ข้าวผัดอเมริกัน” ที่เรารู้จักกันในประเทศไทย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

28 Apr 2020

Lifestyle

26 Mar 2020

โบราณคดีล่องหนของคนชั้นล่าง ห้องครัวในพิพิธภัณฑ์ กับ พายมันเทศ

คอลัมน์โบราณการครัว ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง อดีตที่เคยล่องหนของทาสผิวดำ และเมนู “พายมันเทศ” จากสูตรที่มีอายุกว่าร้อยปีของแม่ครัวผิวดำ

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

26 Mar 2020

Lifestyle

27 Feb 2020

ปลาร้าหอม เต้าหู้เหม็น: ความจำเป็นที่กลายเป็นรสแห่งวัฒนธรรม (2)

คอลัมน์ #โบราณการครัว ตอนใหม่ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึงเรื่องราวของ ปลาร้าและเต้าหู้เหม็น สองรสชาติแห่งวัฒนธรรมที่มีมาเนิ่นนาน ในรอยต่อของสมัยก่อนประวัติศาสตร์และสมัยทวาราวดีในประเทศไทย

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

27 Feb 2020

Lifestyle

4 Feb 2020

ประวัติชาติพันธุ์วรรณนาของปลาร้า: ความจำเป็นที่กลายเป็นรสแห่งวัฒนธรรม (1)

คอลัมน์ #โบราณการครัว เดือนนี้ ณัฎฐา ชื่นวัฒนา เขียนถึง #ปลาร้า การถนอมอาหารที่เกิดขึ้นกว่า 10,000 ปีในยุคก่อนประวัติศาสตร์ของชาวตะวันตก

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

4 Feb 2020

Lifestyle

10 Jan 2020

จานอร่อยจากจารึกบาบิโลน : เมื่อคนนอกคืนรสชาติให้ตำรับอาหารสี่พันปี

‘โบราณการครัว’ คอลัมน์ใหม่จาก ณัฎฐา ชื่นวัฒนา นักโบราณพฤกษคดี ที่จะมาชวนผู้อ่านเข้าครัวทำอาหารจากอดีต ประเดิมเมนูแรกด้วย ทุฮ์อู (Tuh’u) อาหารของชาวบาบิโลเนียน กับสูตรที่ถูกบันทึกบนจารึกอักษรคูนิฟอร์ม

ณัฎฐา ชื่นวัฒนา

10 Jan 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save