fbpx

Political Economy

16 Oct 2017

สิงคโปร์โมเดล : กำแพง 4 ด้านที่เผด็จการข้ามไม่พ้น

หลายประเทศอยากเลียนแบบโมเดลการพัฒนาเศรษฐกิจของสิงคโปร์ แต่อะไรคือกำแพงกั้นขวางที่ทำให้โมเดลแบบสิงคโปร์ไม่สามารถถูกผลิตซ้ำในประเทศอื่นได้ง่ายๆ วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เสนอคำตอบเกี่ยวกับเงื่อนไขความสำเร็จของสิงคโปร์

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

16 Oct 2017

Political Economy

9 Oct 2017

ดวงมณี เลาวกุล : ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ความฝันที่(ไม่)เป็นจริง?

101 ชวน ดวงมณี เลาวกุล ตอบทุกคำถามและข้อวิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีเพื่อความเป็นธรรมและเพื่อท้องถิ่นที่หลายฝ่ายร่วมผลักดันมาหลายทศวรรษแต่ไม่สำเร็จสักที รอบนี้ความฝันมีโอกาสเป็นจริงหรือไม่

สมคิด พุทธศรี

9 Oct 2017

Political Economy

3 Oct 2017

ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ?

พลอย ธรรมาภิรานนท์ ตอบคำถาม ระบอบอำนาจนิยมพัฒนาประเทศได้ดีกว่าระบอบประชาธิปไตยจริงหรือ

พลอย ธรรมาภิรานนท์

3 Oct 2017

Political Economy

17 Sep 2017

เส้นทาง (เลี่ยง) ประชาธิปไตยของรัฐพัฒนา : เกาหลีใต้และไต้หวัน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนถกคำถามสำคัญของเศรษฐศาสตร์การเมืองคือ ความสำเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจนำมาซึ่่งประชาธิปไตยโดยอัตโนมัติหรือไม่ ประสบการณ์ของเกาหลีใต้และไต้หวันบ่งบอกความคดเคี้ยวของวิถีประชาธิปไตยตะวันออกอย่างไร

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Sep 2017

Political Economy

28 Aug 2017

The Origin of Wealth

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน The Origin of Wealth ของ Eric Beinhocker หนังสือที่นำเสนอ “เศรษฐศาสตร์เชิงซับซ้อน” ที่สังเคราะห์จากองค์ความรู้หลายศาสตร์ มาแทนที่ “เศรษฐศาสตร์ดั้งเดิม” ที่ล้มเหลวในการอธิบายโลกแห่งความจริง

สฤณี อาชวานันทกุล

28 Aug 2017

Political Economy

21 Aug 2017

ประเทศไทยมาถึงจุดนี้ได้อย่างไร: การตีความ 4 แบบ

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร เล่าวิธีการตีความเส้นทางเศรษฐกิจการเมืองไทย 4 แนวทาง อะไรเป็นจุดแข็งที่พาเราก้าวจากประเทศยากจนมาสู่ประเทศรายได้ปานกลาง อะไรเป็นจุดตายที่ทำให้ไทยไม่ไปไกลกว่านี้ แล้วทางออกของปัญหาอยู่ตรงไหน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

21 Aug 2017

Political Economy

4 Aug 2017

นายทุนไทยในการเมือง: ผู้สนับสนุนประชาธิปไตยแบบมีเงื่อนไข

พลอย ธรรมาภิรานนท์ ชวนคิดเรื่องนายทุนไทยกับจุดยืนต่อระบอบประชาธิปไตย ทำไมนายทุนไทยที่เคยสนับสนุนประชาธิปไตยในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาคม 2535 กลับหันหลังให้ประชาธิปไตย มาสนับสนุนรัฐบาลทหารและขบวนการต่อต้านประชาธิปไตยในช่วงหลัง

พลอย ธรรมาภิรานนท์

4 Aug 2017

Political Economy

24 Jul 2017

Poor Economics

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “เศรษฐศาสตร์ความจน” (Poor Economics) ของ อภิจิต แบนเนอร์จี กับ เอสเธอร์ ดูฟโล สองนักเศรษฐศาสตร์พัฒนา เพื่อลบล้างมายาคติเกี่ยวกับความจน คนจน และวิธีปราบจน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Jul 2017

Political Economy

17 Jul 2017

จากเสรีนิยมเก่าสู่เสรีนิยมใหม่ – รัฐไทยอยู่ตรงไหน

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ตั้งคำถามชวนคิด รัฐไทยมีความเป็นเสรีนิยมแค่ไหน ‘เก่า’ หรือ ‘ใหม่’ มากกว่ากัน?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Jul 2017

Political Economy

20 Jun 2017

เค้าโครงการเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ ในสายธารความคิดเศรษฐศาสตร์

ในวาระ 85 ปี การอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475 101 เริ่มต้นซีรีส์ “2475” ด้วยผลงานของ สฤณี อาชวานันทกุล ที่ชวนเรากลับไปอ่าน “เค้าโครงการเศรษฐกิจ” ของปรีดี พนมยงค์ อีกครั้ง เพื่อสืบหาข้อคิดจากเค้าโครงการเศรษฐกิจในสายธารความคิดของเศรษฐศาสตร์ยุคปัจจุบัน โดยพยายามเสนอคำตอบเบื้องต้นต่อคำถามที่ว่า เราจะบรรลุเป้าหมาย “ความสุขสมบูรณ์” ของประชาชนดังเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดีภายใต้เศรษฐกิจยุคใหม่ได้อย่างไร

สฤณี อาชวานันทกุล

20 Jun 2017

Political Economy

22 May 2017

The Rise and Fall of Nations

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่านหนังสือ “The Rise and Fall of Nations” ของ Ruchir Sharma แห่ง Morgan Stanley Investment Management ค้นหาคำตอบกันว่า กฎจำง่าย 10 ข้อ เพื่อประเมินแนวโน้มการเติบโตของเศรษฐกิจแต่ละประเทศในยุค 4Ds มีอะไรบ้าง

สฤณี อาชวานันทกุล

22 May 2017

Political Economy

15 May 2017

ข้ามพ้น ‘คนดี’ เสียทีดีไหม

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนคิดเรื่องสำคัญในการศึกษาสังคมศาสตร์ ว่าเราจะสามารถทำความเข้าใจประวัติศาสตร์และเหตุการณ์ต่างๆ ในโลกได้ดีที่สุดด้วย “หน่วย” (unit of analysis) อะไร

หน่วยมองโลกแบบ “ปัจเจกนิยม” ที่คล้ายเป็น default mode ของสังคมไทย มีจุดแข็งและจุดอ่อนอย่างไร และส่งผลอย่างไรในการตีความอดีต การประเมินสถานการณ์ปัจจุบัน และการออกแบบอนาคต

เรามาข้ามพ้น “คนดี” เสียทีดีไหม?

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

15 May 2017

Political Economy

24 Apr 2017

Global Inequality

สฤณี อาชวานันทกุล ชวนอ่าน “กราฟช้าง” ของ Branko Milanović หนึ่งในกราฟแห่งยุคสมัยที่อธิบายสถานการณ์ความเหลื่อมล้ำระดับโลกได้ดีที่สุด

ใครได้ประโยชน์ ใครเสียประโยชน์ จากเศรษฐกิจโลกาภิวัตน์ร่วมสมัย สฤณีนำคำตอบจากหนังสือ Global Inequality ของ Milanović มาเล่าสู่กันอ่าน

สฤณี อาชวานันทกุล

24 Apr 2017

Political Economy

17 Apr 2017

ทำไมบอลพรีเมียร์ลีกสนุก แต่ทีมชาติอังกฤษล้มเหลว: มองโมเดลทุนนิยมผ่านโลกฟุตบอล

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร ชวนดูฟุตบอล แล้วย้อนดูทุนนิยม วิถีฟุตบอลอังกฤษและเยอรมนีสอนเราเรื่องทางเลือกและความหลากหลายของระบบทุนนิยมอย่างไร หาคำตอบได้จากข้อเขียนอ่านสนุกชิ้นนี้

วีระยุทธ กาญจน์ชูฉัตร

17 Apr 2017
1 9 10 11

RECOMMENDED

Economic Focus

24 Apr 2024

ดิจิทัลแบบใด? แกะไส้ในงบประมาณตามแผนดิจิทัล

WeVis ร่วมกับ 101PUB ชวนผู้อ่านสำรวจงบดิจิทัลปี 67 ของไทยกว่า 5,000 ล้านบาทว่าเป็นอย่างไร ? มีปัญหาอะไรที่ต้องคำนึงอีกบ้าง ?

กษิดิ์เดช คำพุช

24 Apr 2024

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save