Books

17 Apr 2024

ดราก้อนบอล ลิขสิทธิ์ และหัวนมโกฮัง: ประวัติศาสตร์ระยะใกล้ กับป๊อบคัลเจอร์ในสังคมไทย

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ ชวนย้อนมองมังงะ ‘ดราก้อนบอล’ ในฐานะวัฒนธรรมป๊อบและสินค้า หาคำตอบว่าดราก้อนบอลมีที่ทางอย่างไรในโลกของนักอ่านชาวไทย และเราจะอ่านดราก้อนบอลให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยได้อย่างไร

ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

17 Apr 2024

Media

27 Jan 2023

101 In Focus Ep.163 : มาแล้วแก้วตา มาฟังลูกทุ่งแกล้มการเมือง

101 In Focus สัปดาห์นี้ ขอเชิญมิตรรักแฟนเพลงมาฟังประวัติศาสตร์เพลงลูกทุ่ง ตั้งแต่ต้นกำเนิดถึงยุคทอง ความสัมพันธ์ระหว่างสื่อบันเทิงและสังคม ภาพเมืองและชนบท อุดมการณ์รัฐและความเป็นอนุรักษนิยมที่สอดแทรกไว้ในเพลงอย่างแยบยล

กองบรรณาธิการ

27 Jan 2023

Social Issues

22 Dec 2022

เด็กไม่ใช่อนาคต แต่เด็กคือปัจจุบัน: พาสังคมก้าวพ้นชราธิปไตยผ่านจินตนาการพลเมือง

ท่ามกลางความสิ้นหวังของคนรุ่นใหม่ 101 ชวนทำความรู้จักเครื่องมือ ‘จินตนาการพลเมือง’ ที่จะช่วยสร้างหวังและนับรวมความฝันของคนรุ่นใหม่อีกครั้ง

ศุภวิชญ์ ศิริสวัสดิ์วัฒนา

22 Dec 2022

Thai Politics

23 Nov 2020

ม็อบ มีมและการเมืองคนรุ่นใหม่ กับ อาจินต์ ทองอยู่คง

101 สนทนากับ อาจินต์ ทองอยู่คง อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อทำความเข้าใจที่ทางของมีมในกระแสการเคลื่อนไหวทางการเมืองในไทย และ pop culture ในการประท้วง

ณรจญา ตัญจพัฒน์กุล

23 Nov 2020

Talk Programmes

23 Oct 2020

101 One-On-One Ep.189 : ม็อบ มีมและการเมือง กับ อาจินต์ ทองอยู่คง

มีมทำหน้าที่อย่างไรในทางการเมืองกันแน่ ทำไมมีมจึงกลายเป็นเครื่องมือยอดฮิตในการประท้วง อะไรคือควาทรงพลังของมีม แล้ว pop culture เกี่ยวอะไรกับการประท้วง? 101 สนทนากับ อาจินต์ ทองอยู่คง อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เพื่อตอบคำถามข้างต้นและทำความเข้าใจมีมให้ลึกซึ่งยิ่งขึ้น

101 One-on-One

23 Oct 2020

RECOMMENDED

Social Issues

17 Feb 2017

อ่านข่าวออนไลน์จากสำนักไหน ใครจำได้บ้าง

แน่นอน คนเราอ่านข่าวออนไลน์กันมากขึ้น แต่เราจำได้หรือเปล่าว่าข่าวไหนมาจากสำนักไหน ใครวิเคราะห์อะไรบ้าง ได้ตามข่าวไหนต่อเป็นพิเศษหรือเปล่า วิธีอ่านข่าวออนไลน์ของเราเป็นอย่างไร

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Social Issues

17 Feb 2017

น้ำแข็งขั้วโลกหดตัวต่ำสุดในประวัติศาสตร์ ไม่ใช่แค่ขั้วเดียว-แต่ทั้งสองขั้วเลย!

ขั้วโลกเหนือเป็นฤดูหนาว ขั้วโลกใต้เป็นฤดูร้อน แต่ที่เหมือนกันก็คือ ไม่ว่าจะหนาวจะร้อน ทั้งสองขั้วโลกต่างมีอาการ ‘น้ำแข็งหดตัว’ จนเกิดสถิติใหม่อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยกันทั้งคู่!

กองบรรณาธิการ

17 Feb 2017

Life & Culture

20 Feb 2017

พื้นที่สาธารณะ พื้นที่ของใครกันแน่?

ดัชนีชี้วัดความสุขประชากรในเมืองขึ้นอยู่กับอะไรบ้าง ห้างสวยแอร์เย็น รถไฟฟ้าไร้โฆษณา หรือจริงๆ มนุษย์เมืองล้วนต้องการพื้นที่สาธารณะที่เป็น ‘สาธารณะ’ จริงๆ

เทพพิทักษ์ มณีพงษ์

20 Feb 2017

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save