fbpx

Economic Focus

8 May 2017

เศรษฐศาสตร์ว่าด้วย “ความไม่แน่นอน”

New Normal ของเศรษฐกิจโลกยุคใหม่เต็มไปด้วย “ความไม่แน่นอน” สะท้อนผ่านหลายนโยบายเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เช่น แนวโน้มเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปจาก Brexit หรือแนวทางการบริหารนโยบายของสหรัฐอเมริกายุคโดนัลด์ ทรัมป์

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จะพาไปดู “หน้าตา” ของสภาวะ “ความไม่แน่นอน” ที่กำลังเกิดขึ้นในโลก – นักวิชาการเศรษฐศาสตร์พยายามวัด “ความไม่แน่นอน” อย่างไร และอะไรคือผลกระทบของมันต่อระบบเศรษฐกิจ

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

8 May 2017

Economy

3 May 2017

When Saturday comes : การถ่ายทอดฟุตบอลกับความเปลี่ยนแปลงในเศรษฐกิจและวัฒนธรรมลูกหนัง

ตฤณ ไอยะรา นักเศรษฐศาสตร์การเมืองที่จดจำชื่อนักเตะ ผู้จัดการ และประวัติศาสตร์ฟุตบอล ได้แม่นกว่าทฤษฎีเศรษฐศาสตร์และประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ จะเล่าให้คุณฟังว่า การถ่ายทอดเกมการแข่งขันขยายขอบฟ้าทาง “กาละ” และ “เทศะ” ของเกมลูกหนังในสนาม และสร้างแรงสั่นสะเทือนต่อโลกฟุตบอลอย่างไร

ตฤณ ไอยะรา

3 May 2017

Economic Focus

18 Apr 2017

ฉันเกิดและโตท่ามกลางวิกฤต ‘ต้มยำกุ้ง’

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล กองบรรณาธิการ 101 เล่าประสบการณ์ชมนิทรรศการ “ต้มยำกุ้งวิทยา : วิชานี้อย่าเลียน” ที่มิวเซียมสยามจัดทำขึ้นในวาระครบรอบ 20 ปี วิกฤตต้มยำกุ้ง – วิกฤตเศรษฐกิจที่รุนแรงที่สุดของสังคมเศรษฐกิจไทยนับจากสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา

แฟลชแบ็คกลับไปเมื่อปี 2540 พันธวัฒน์มีอายุได้เพียง 6 ปีเท่านั้น “ต้มยำกุ้งวิทยา” ทำให้เขามองเห็นภาพความทรงจำอะไรในชีวิตของตัวเองและชีวิตของสังคมไทยบ้าง เหมือนหรือต่างกับประสบการณ์ของคุณผู้อ่านอย่างไร อ่านแล้วมาคุยกันครับ!

พันธวัฒน์ เศรษฐวิไล

18 Apr 2017

Economic Focus

10 Apr 2017

เปิดตำนานธนบัตรไทย : เรื่องที่คุณไม่เคยรู้

รู้หรือไม่ว่าธนบัตรที่เราใช้กันจนคุ้นเคยอยู่ทุกวันมีที่มาอย่างไร รู้หรือไม่ว่าในอดีตทำกันอย่างไรให้คนไทยยอมรับและหันมาใช้เงินกระดาษเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน รู้หรือไม่ว่าทำไมธนาคารพาณิชย์แห่งแรกของไทยจึงชื่อว่า ‘บุคคลัภย์’ (Book Club) และการตั้งธนาคารพาณิชย์เกี่ยวพันกับการตั้งธนาคารชาติอย่างไร

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม อาจารย์คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เขียนหนังสือ 72 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย เล่าเกร็ดประวัติศาสตร์เบื้องหลังความสำเร็จของการเสกกระดาษให้เป็นเงิน ผ่านเรื่องราวของบิดาแห่งการธนาคารไทย

พงศ์ศักดิ์ เหลืองอร่าม

10 Apr 2017

Economic Focus

13 Mar 2017

อูเบอร์ศึกษา : เมื่อกฎระเบียบเก่าถูกเขย่าด้วยโลกใหม่

กฎระเบียบและการกำกับดูแลของรัฐ ในโลกยุคเทคโนโลยีใหม่ป่วนธุรกิจเก่า ควรเป็นอย่างไร? พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย มอง ‘อูเบอร์’ แล้วชวนคิดต่อว่า กฎหมายมีไว้ทำไม และการกำกับดูแลของรัฐควรมีเป้าหมายเพื่อใคร – ผู้บริโภคหรือผู้ประกอบการรายเดิม

พิพัฒน์ เหลืองนฤมิตชัย

13 Mar 2017
1 21 22

RECOMMENDED

Economic Focus

9 Apr 2024

หุ้นญี่ปุ่นนิวไฮ แต่เศรษฐกิจถดถอย: ทำไมตลาดทุน จึงไม่สะท้อนเศรษฐกิจจริงของญี่ปุ่น?

กฤตพล วิภาวีกุล ชวนวิเคราะห์ว่าทำไมดัชนีตลาดหุ้นญี่ปุ่น Nikkei ถึงกำลังทำนิวไฮได้ต่อเนื่อง ทั้งที่เศรษฐกิจญี่ปุ่นไม่ค่อยสดใส

กฤตพล วิภาวีกุล

9 Apr 2024

Economic Focus

24 Apr 2024

ดิจิทัลแบบใด? แกะไส้ในงบประมาณตามแผนดิจิทัล

WeVis ร่วมกับ 101PUB ชวนผู้อ่านสำรวจงบดิจิทัลปี 67 ของไทยกว่า 5,000 ล้านบาทว่าเป็นอย่างไร ? มีปัญหาอะไรที่ต้องคำนึงอีกบ้าง ?

กษิดิ์เดช คำพุช

24 Apr 2024

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save